ปฏิวัติที่ปลายลิ้น

ผู้เขียน: ชาติชาย มุกสง

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , หนังสือสารคดี

5 (2) เขียนรีวิว

306.00 บาท

360.00 บาท ประหยัด 54.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 36 คะแนน

ปรับรสแต่งชาติอาหารการกินในสังคมไทย หลัง ๒๔๗๕ < แสดงน้อยลง ปรับรสแต่งชาติอาหารการกินในสังคมไทย หลัง ๒๔๗๕
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com มหกรรมนิยายออนไลน์ 24 #ใครฆ่าลิลลี่ หนังสือเล่มลด 15%*

306.00 บาท

360.00 บาท
360.00 บาท
ประหยัด 54.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 36 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
400 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 21 x 1.7 CM
น้ำหนัก
0.451 KG
บาร์โค้ด
9789740217879

รายละเอียด : ปฏิวัติที่ปลายลิ้น

ปฏิวัติที่ปลายลิ้น

รสนิยมเป็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ง่ายนัก แต่ก็เปลี่ยนแปลงตลอด ลิ้นในฐานะอวัยวะ
หนึ่งของการรับรสของมนุษย์ถือได้ว่ามีความเป็นอนุรักษนิยมสูง อาหารแบบกินแล้วมี
ความสุข (comfort food) อันเป็นอาหารที่คุ้นเคยแต่เด็กๆ นั้นเป็นอะไรที่ผู้คนมักจะโหย
หา การกินกับอุดมการณ์ทางการเมืองจึงเป็นสิ่งที่แยกออกจากกันวิถีชีวิตประจำวันที่คุ้น
เคยไม่จำเป็นต้องมีอะไรที่แปลกใหม่ แต่ก็ใช่ว่าจะเปลี่ยนแปลงไม่ได้

-คำนิยม ธเนศ วงศ์ยานนาวา-

การต่อสู้และต่อรองความหมายทางการเมืองด้านรสชาติถูกแฝง ไปยังปลายลิ้น หากกลุ่ม
ใดในสังคมสามารถครองอำนาจนำที่ปลายลิ้นได้ ก็ย่อมสามารถครองอำนาจทางการเมือง
วัฒนธรรมในระดับมวลได้เช่นกัน

หลังการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ คณะราษฎรได้นำแนวคิดโภชนาการใหม่เข้ามาปะทะประสาน
กับการเมืองสมัยใหม่ ผลักดันให้ประชาชนหันมาใส่ใจกับการกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพมาก
ยิ่งขึ้น ทั้งการส่งเสริมอาชีพและอุตสาหกรรมด้านอาหาร ความสำเร็จของการปฏิวัติที่ปลาย
ลิ้นยังได้นำไปสู่กระบวนการช่วงชิงความหมายและสร้างนิยามมาตรฐานด้านรสชาติอาหาร
ใหม่อีกครั้งของกลุ่มชนชั้นสูงในเวลาต่อมา

ชวนลิ้มลองรสชาติของการปฏิวัติที่ปลายลิ้น ปรับรสปรุงแต่งสู่การกินแบบประชาธิปไตย


สารบัญ : ปฏิวัติที่ปลายลิ้น

    • บทที่ ๑ ๒๔๗๕ กับการปฏิวัติรสชาติอาหาร
    • บทที่ ๒ เปลี่ยนวิถีการผลิต เปลี่ยนวิถีการกินเปลี่ยนรสเปลี่ยนชาติ
    • บทที่ ๓ น้ำตาลกับการประกอบสร้างภูมิทัศน์ด้านรสชาติอาหารใหม่ในสังคมไทย
    • บทที่ ๔ จากแม่ศรีเรือนถึงแม่บ้านทันสมัย

รีวิว


5.0
5 (2)
  • 5
    100 %
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%