การประกันคุณภาพ

ผู้เขียน: ศุภชัย นาทะพันธ์

สำนักพิมพ์: ซีเอ็ดยูเคชั่น/se-ed

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , ปริญญาตรี

0 รีวิว เขียนรีวิว

225.00 บาท

250.00 บาท ประหยัด 25.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 แต้ม

เหมาะสำหรับนักศึกษา วิศวกร ผู้บริหาร และผู้สนใจทั่วไป < แสดงน้อยลง เหมาะสำหรับนักศึกษา วิศวกร ผู้บริหาร และผู้สนใจทั่วไป
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

225.00 บาท

250.00 บาท
250.00 บาท
ประหยัด 25.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
200 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
18.6 x 25.5 x 0.8 CM
น้ำหนัก
0.367 KG
บาร์โค้ด
9786160835423

รายละเอียด : การประกันคุณภาพ

การประกันคุณภาพ

QA (Qua li ty A ssurance) คือการออกแบบระบบงานสำหรับการผลิตสินค้าหรือบริการที่ผู้บริหารต้องให้เวลาอย่างมากกับช่วงเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบงาน เพื่อให้รายละเอียดภายในระบบงานที่ส่งผลต่อระดับความไว้วางใจตามข้อกำหนดด้านคุณภาพของลูกค้า โดยการป้องกันข้อผิดพลาดด้านคุณภาพก่อนล่วงหน้า ก่อนการประยุกต์การควบคุมคุณภาพที่จะสามารถปฏิบัติได้ตามระบบงาน เพื่อรักษาระดับคุณภาพให้กับสินค้า/บริการ รวมถึงการประยุกต์การตรวจติดตามและประเมินประสิทธิผลของการตอบสนองต่อข้อกำหนดด้านคุณภาพ เพื่อค้นหาจุดแข็งและโอกาสในการพัฒนาให้กับองค์กรได้อย่างเป็นระบบ


สารบัญ : การประกันคุณภาพ

    • บทที่ 1 วิวัฒนาการของการประกันคุณภาพ
    • บทที่ 2 การวางแผนคุณภาพ
    • บทที่ 3 การควบคุมคุณภาพ
    • บทที่ 4 การตรวจประเมินคุณภาพ
    • บทที่ 5 การบริหารจัดการระบบการประเมินคุณภาพ
    • บทที่ 6 การปรับปรุงพัฒนาผลการดำเนินการ


รีวิวโดยผู้เขียน : การประกันคุณภาพ

ในยุคสมัยที่มีการแข่งขันสูง การประกันคุณภาพเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับองค์กร เพื่อให้องค์กรได้รับการยอมรับคุณภาพจากลูกค้าจากการป้องกันปัญหาด้านคุณภาพก่อนล่วงหน้าให้กับองค์กร โดยการพัฒนาระบบภายในองค์กรให้มีประสิทธิผลเพิ่มสูงขึ้นกว่าเดิม นั่นคือ คุณภาพสามารถรับประกันได้จากการวางระบบคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนคุณภาพ, การควบคุมคุณภาพให้เป็นไปตามแผน และการตรวจประเมินผลลัพธ์ที่ได้จากการวางแผน ดังนั้นองค์กรที่ต้องการอยู่รอดได้ในตลาดระยะยาวต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพให้กับองค์กรเอง การประกันคุณภาพสามารถประยุกต์ได้ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษา

สำหรับภาคการศึกษาจะมีผลิตภัณฑ์คือ หลักสูตร ซึ่งต้องมีการประกันคุณภาพการศึกษาเช่นเดียวกับภาคอุตสาหกรรม ประเด็นที่ผู้อ่านต้องให้ความสำคัญประกอบด้วย ประเด็นที่หนึ่ง คือ กิจกรรมใดที่ส่งผลต่อความแตกต่างระหว่าง การควบคุมคุณภาพ (QC), การประกันคุณภาพ (QA) และการจัดการคุณภาพ (QM) เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงลักษณะทางคุณภาพขององค์กรที่ดำรงอยู่ ประเด็นที่สอง คือการกำหนดแนวทางอย่างไรจึงจะสามารถยกระดับคุณภาพได้ และ ประเด็นที่สาม คือการบริการจัดการระบบการประกันคุณภาพอย่างไรจึงจะทำให้ระบบการประกันคุณภาพที่องค์กรพัฒนาสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน

รศ. ศุภชัย นาทะพันธ์

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading