กลศาสตร์ (มัธยมศึกษาตอนต้น) และแคลคูลัสเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์

ผู้เขียน: วุทธิพันธุ์ ปรัชญพฤทธิ์

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , คู่มือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

0 รีวิว เขียนรีวิว

243.00 บาท

270.00 บาท ประหยัด 27.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 แต้ม

โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา (สอวน.) < แสดงน้อยลง โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา (สอวน.)
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

Tags: ฟิสิกส์ , วิทยาศาสตร์ ม.ต้น , คู่มือเตรียมสอบ , คู่มือเตรียมสอบอุดมศึกษา

243.00 บาท

270.00 บาท
270.00 บาท
ประหยัด 27.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
244 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
0 x 0 x 0 CM
น้ำหนัก
0.639 KG
บาร์โค้ด
9786168242131

รายละเอียด : กลศาสตร์ (มัธยมศึกษาตอนต้น) และแคลคูลัสเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์

กลศาสตร์ (มัธยมศึกษาตอนต้น) และแคลคูลัสเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์

แบบเรียนนี้เรียบเรียงขึ้นสำหรับนักเรียนที่ชอบวิชาฟิสิกส์ และตั้งใจจะศึกษาเพื่อการแข่งขันหรือเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาสูงขึ้นในสายวิทยาศาสตร์

แบบเรียนเล่มนี้เน้นความเข้าใจ ความสามารถคิดแบบวิเคราะห์ในพื้นฐานของวิชากลศาสตร์ดั้งเดิม วิชาที่นักเรียนควรเคยศึกษามาก่อนหรืออย่างน้อยก็กำลังศึกษาอยู่เพื่อเข้าใจเนื้อหาในเล่มนี้ได้ก็คือ พีชคณิต เรขาคณิต หรือตรีโกณมิติ ส่วนวิชาเวกเตอร์จะนำเสนอในเล่มเท่าที่จำเป็น วิชาแคลคูลัสเต็มรูปแบบจะยังไม่ใช้ แต่แนวคิดเชิงแคลคูลัสเบื้องต้นจำเป็นต้องใช้บ้างเพื่อให้ความเข้าใจที่ถูกต้อง การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีในบางเรื่องจึงต้องใช้ประโยชน์จากผลบวกของอนุกรมในวิชาพีชคณิตแทนการใช้แคลคูลัส

ลำดับการเรียงหัวข้อนั้นเป็นไปตามความประสงค์ที่ต้องการแสดงให้เห็นว่าวิชากลศาสตร์นั้นวางรากฐานอยู่บนกฎการเคลื่อนที่ทั้งสามข้อของเซอร์ ไอแซค นิวตัน (และวิชาแคลคูลัสเองก็เป็นเครื่องมือเฉพาะของกลศาสตร์ และถูกพัฒนาขึ้นมาใช้โดยเซอร์ ไอแซค นิวตัว เองด้วย) เราสามารถแก้ปัญหาทางกลศาสตร์ดั้งเดิมได้เสมอโดยอาศัยกฎการเคลื่อนที่ทั้งสามข้อนั้น

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading