ปรัชญาฝ่ายโยคะ

ผู้เขียน: สวามี สัตยานันทปุรี

สำนักพิมพ์: ศรีปัญญา/SRIPANYA

หมวดหมู่: ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา , ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา

0 รีวิว เขียนรีวิว

288.00 บาท

320.00 บาท ประหยัด 32.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 11 แต้ม

เนื้อหาที่สำคัญของปรัชญาฝ่ายโยคะที่มีคำตอบอยู่ในหนังสือเล่มนี้โดยให้หลักการและเหตุผลไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ < แสดงน้อยลง เนื้อหาที่สำคัญของปรัชญาฝ่ายโยคะที่มีคำตอบอยู่ในหนังสือเล่มนี้โดยให้หลักการและเหตุผลไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

288.00 บาท

320.00 บาท
320.00 บาท
ประหยัด 32.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 11 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
0 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 21 x 1.9 CM
น้ำหนัก
0.395 KG
บาร์โค้ด
9786164370814

รายละเอียด : ปรัชญาฝ่ายโยคะ

ปรัชญาฝ่ายโยคะ

อาจารย์ปตัญชลีได้ให้ความหมายไว้เป็นสูตรที่สองในปฐมปาทะของคัมภีร์นั้นว่า โยคะคือการดับพฤติกรรมของจิต มีปัญหาว่าพฤติกรรมของจิตคืออะไร ทำไมจึงต้องดับและจะดับได้อย่างไร คำตอบของปัญหาเหล่านี้เป็นเนื้อหาที่สำคัญของปรัชญาฝ่ายโยคะที่มีคำตอบอยู่ในหนังสือเล่มนี้โดยให้หลักการและเหตุผลไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์



รีวิวโดยสำนักพิมพ์ : ปรัชญาฝ่ายโยคะ

หนังสือปรัชญาฝ่ายโยคะซึ่งเขียนขึ้นโดย ท่านมหาฤาษีปตัญชลีเล่มนี้นับเป็นหนังสือปรัชญาฝ่ายพราหมณ์ที่รวบรวมบรรดาวิธีบริกรรม หลักคิดท่าทีและสูตรโยคะที่สำคัญ โยคะนับเป็นนิกาย ๑ ใน ๖ นิยายหลักของพราหมณ์ฮินดู ได้แก่ นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ มีมางสา และเวทานตะ ท่านสวามี สัตยานันทปุรีเป็นผู้แปลเรียบเรียงขึ้นในพากษ์ภาษาไทย

โยคะ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒ ให้ความหมายไว้ว่า "การประกอบ, การใช้, การร่วม, กิเลส, ความเพียร" วิธีบำเพ็ญสมาธิตามลัทธิของท่านอาจารย์ปตัญชลี คำว่าโยคะพบครั้งแรกในคัมภีร์ฤคเวทซึ่งใช้หมายถึงการเทียมแอก การเทียมรถ หรือการเทียมเกวียณ การใช้เชือกผูกม้าเข้ากับแอกรถ หรือเกวียณแล้วบังคับม้าให้ลากไปตามที่ต้องการ ต่อมาใช้ในความหมายถึงการประกอบหรือรวมสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ากับอะไรก็ได้ ครั้งมาถึงสมัยอุปนิษัทซึ่งเป็นสมัยแห่งการค้นหาตัวเอง คือศึกษาถึงเรื่องอาตมัน (คืออัตตาหรือตัวตน) พรหมัน (พระผู้เป็นเจ้าสูงสุด) ก็ได้นำโยคะมาใช้ในเรื่องดังกล่าวด้วยหมายถึงใช้จิตผูกอินทรีย์ทั้งหลายไว้กับเราเช่นเดียวกับการใช้เชือกผูกม้าไว้กับรถกับแอกหรือเกวียณแล้วบังคับให้ไปในที่ที่ต้องการต่อมาพวกเวทานตะนำคำนี้ไปใช้หมายถึง การประกอบหรือการรวมปัจเจกชีพเข้ากับสากลชีพหรือรวมอาตมันเข้ากับพรหมันซึ่งถือเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิตมนุษย์

อาจารย์ปตัญชลีได้ให้ความหมายไว้เป็นสูตรที่สองในปฐมปาทะของคัมภีร์นั้นว่า โยคะคือการดับพฤติกรรมของจิต มีปัญหาว่าพฤติกรรมของจิตคืออะไร ทำไมจึงต้องดับและจะดับได้อย่างไร คำตอบของปัญหาเหล่านี้เป็นเนื้อหาที่สำคัญของปรัชญาฝ่ายโยคะที่มีคำตอบอยู่ในหนังสือเล่มนี้โดยให้หลักการและเหตุผลไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์

สำนักพิมพ์ศรีปัญญา

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading