พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ อิเหนา ร้อยแก้วประกอบคำกลอน

ผู้เขียน: พิกุล ทองน้อย

สำนักพิมพ์: ศรีปัญญา/SRIPANYA

หมวดหมู่: วรรณกรรม , วรรณคดีไทย

0 รีวิว เขียนรีวิว

315.00 บาท

350.00 บาท ประหยัด 35.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 12 แต้ม

หนังสือที่ดีเหมาะแก่ผู้สนใจใฝ่รู้ จะได้ศึกษา เหมาะแก่ครูบาอาจารย์ นิสิต นักศึกษา จะใช้ประกอบในการเล่าเรียน < แสดงน้อยลง หนังสือที่ดีเหมาะแก่ผู้สนใจใฝ่รู้ จะได้ศึกษา เหมาะแก่ครูบาอาจารย์ นิสิต นักศึกษา จะใช้ประกอบในการเล่าเรียน
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

315.00 บาท

350.00 บาท
350.00 บาท
ประหยัด 35.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 12 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
420 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 21 x 2.4 CM
น้ำหนัก
0.527 KG
บาร์โค้ด
9786164370630

รายละเอียด : พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ อิเหนา ร้อยแก้วประกอบคำกลอน

พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ อิเหนา ร้อยแก้วประกอบคำกลอน

สำนักพิมพ์ศรีปัญญา ได้นำบทประพันธ์เรื่อง อิเหนา สำนวนร้อยแก้วประกอบคำกลอนของ คุณพิกุล ทองน้อย กลับมาพิมพ์ขึ้นใหม่อีกครั้ง ด้วยเห็นว่าหนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ดีเหมาะแก่ผู้สนใจใฝ่รู้ จะได้ศึกษา เหมาะแก่ครูบาอาจารย์ นิสิต นักศึกษา จะใช้ประกอบในการเล่าเรียน เนื่องจากเป็นอีกสำนวนหนึ่งที่อ่านง่ายเข้าใจง่ายไม่ยากจนเกินไป เหมาะแก่การปรับพื้นฐานเพื่อต่อยอดในการกลับไปอ่านวรรณคดีเรื่องอื่นๆ ต่อไป


เนื้อหาปกหลัง : พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ อิเหนา ร้อยแก้วประกอบคำกลอน

สำนักพิมพ์ศรีปัญญา ได้นำบทประพันธ์เรื่อง อิเหนา สำนวนร้อยแก้วประกอบคำกลอนของ คุณพิกุล ทองน้อย กลับมาพิมพ์ขึ้นใหม่อีกครั้ง ด้วยเห็นว่าหนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ดีเหมาะแก่ผู้สนใจใฝ่รู้ จะได้ศึกษา เหมาะแก่ครูบาอาจารย์ นิสิต นักศึกษา จะใช้ประกอบในการเล่าเรียน เนื่องจากเป็นอีกสำนวนหนึ่งที่อ่านง่ายเข้าใจง่ายไม่ยากจนเกินไป เหมาะแก่การปรับพื้นฐานเพื่อต่อยอดในการกลับไปอ่านวรรณคดีเรื่องอื่นๆ ต่อไป



รีวิวโดยสำนักพิมพ์ : พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ อิเหนา ร้อยแก้วประกอบคำกลอน

"อิเหนา" เป็นวรรณคดีที่สำคัญเรื่องหนึ่งของไทย เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เดิมทีนิทานอิเหนาเข้ามาในเมืองไทย ตามหลักฐานที่พบแน่นอนนั้นเชื่อกันว่าเข้ามาในตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา

ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่า หญิงเชลยปัตตานีซึ่งเป็นนางข้าหลวงรับใช้ในพระราชธิดาของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎพระราชธิดานั้น และเจ้าฟ้าทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้น แต่บางกระแสก็ว่าต่างพระองค์ต่างก็แต่งขึ้นพระองค์ละเรื่องประชันฝีมือ โดยพระนิพนธ์ของทั้งสองพระองค์นี้ต่างดำเนินเรื่องตามเค้าโครงนิทานปันหยี ซึ่งเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์อิงพงศาวดารของชวา

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading