s

เขียนชนบทให้เป็นชาติ : กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

ผู้เขียน: เก่งกิจ กิติเรียงลาภ

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 รีวิว เขียนรีวิว

170.00 บาท

200.00 บาท ประหยัด 30.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 แต้ม

คลี่ปมอาณานิคมความรู้และการเมืองเบื้องหลังชนบทศึกษา < แสดงน้อยลง คลี่ปมอาณานิคมความรู้และการเมืองเบื้องหลังชนบทศึกษา
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Top Up Mid-Month Sale! ลด 15%

170.00 บาท

200.00 บาท
200.00 บาท
ประหยัด 30.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
184 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 20.9 x 0.9 CM
น้ำหนัก
0.199 KG
บาร์โค้ด
9789740216544

รายละเอียด : เขียนชนบทให้เป็นชาติ : กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

เขียนชนบทให้เป็นชาติ : กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

ภายใต้เงาของสหรัฐอเมริกาและบริบทสงครามเย็น “หมู่บ้าน” และ “ชนบท” ในประเทศโลกที่ 3 โดยเฉพาะประเทศไทย เริ่มถูกจัดวางในแผนที่ ถูกจินตนาการ และถูกประดิษฐ์ภาพแทนขึ้นใหม่ ในโครงการปฏิรูปชนบทเพื่อสร้างรัฐประชาชาติและป้องกันคอมมิวนิสต์ หมู่บ้านจึงกลายมาเป็นการจัดประเภทที่ถูกวัดประเมินและผลิตซ้ำได้ เป็นหน่วยที่มีอิสระในตัวเองและมีเอกภาพ ก่อนที่ความตื่นตัวในการศึกษาหมู่บ้านและชนบทเหล่านี้จะนําไปสู่การสถาปนา “ชนบทศึกษา” รวมไปถึงอุตสาหกรรมการวิจัยทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาที่ถูกขับดันไปด้วยวาระทางการเมือง

เป้าหมายของหนังสือเล่มนี้ไม่ใช่การปฏิเสธ หรือต้องการผลักไสมรดกทั้งหมดของอาณานิคม หรือจักรวรรดินิยมอเมริกัน แต่มุ่งไปที่การวิพากษ์และเปิดเผยให้เห็นลักษณะของความรู้ ทางมานุษยวิทยาของไทยยุคบุกเบิกที่ไม่อาจแยกขาดจากสงครามเย็น ทั้งในฐานะบริบททางประวัติศาสตร์ และในฐานะโลกทัศน์ทางสังคมการเมือง


สารบัญ : เขียนชนบทให้เป็นชาติ : กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

    • 01 ปมปัญหาและวิธีวิทยา ว่าด้วยความเป็นจักรวรรดิของความรู้
    • 02 จักรวรรดิอเมริกันกับการสร้างองค์ความรู้ เกี่ยวกับประเทศโลกที่ 3
    • 03 สงครามเย็นศึกษา (Cold War Studies) กับประเทศไทย
    • 04 ไทยศึกษาแบบอเมริกันและการประดิษฐ์ "หมู่บ้านชนบทไทย" ในสหรัฐอเมริกา
    • 05 สถาบันวิจัยและการสนับสนุนการวิจัย ของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย
    • 06 กำเนิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยากับหมู่บ้านชนบทศึกษายุคบุกเบิก
    • 07 บทสรุป : มานุษยวิทยาจักรวรรดิและความเป็นสมัยใหม่

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading