จีน-สยาม สายสัมพันธ์แห่งไมตรีจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์

ผู้เขียน: เกริกฤทธิ์ เชื้อมงคล

สำนักพิมพ์: สยามความรู้

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 รีวิว เขียนรีวิว

148.50 บาท

165.00 บาท ประหยัด 16.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 แต้ม

สายสัมพันธ์ของ มหามิตร ที่แนบแน่นมาแต่ครั้งโบราณกาลเล่าผ่าน บันทึก และพงศาวดารจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ < แสดงน้อยลง สายสัมพันธ์ของ มหามิตร ที่แนบแน่นมาแต่ครั้งโบราณกาลเล่าผ่าน บันทึก และพงศาวดารจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

148.50 บาท

165.00 บาท
165.00 บาท
ประหยัด 16.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
368 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14 x 20.4 x 2 CM
น้ำหนัก
0.422 KG
บาร์โค้ด
9786164411012

รายละเอียด : จีน-สยาม สายสัมพันธ์แห่งไมตรีจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์

จีน-สยาม สายสัมพันธ์แห่งไมตรีจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์

ชนชาวจีนเดินทางเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบุรพกษัตริย์สยาม ทั้งมาค้าขาย รับราชการ พักอาศัยและตั้งรกรากสร้างฐานะ หลากหลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในราชสำนักสยาม ทั้งช่วงที่บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองมั่งคั่งหรือเกิดกลียุค ชาวจีนบางส่วนก็ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสู้ศึก เปิดบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรสยามกับจีนมหาประเทศแต่ครั้งโบราณ ด้วยหลักฐานบันทึกทางประวัติศาสตร์เก่าแก่ ของราชสำนักจีนและการผลัดเปลี่ยนแผ่นดินฮ่องเต้หลายยุคสมัย ควบคู่กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์พงศาวดารสยามแต่ครั้งสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์


สารบัญ : จีน-สยาม สายสัมพันธ์แห่งไมตรีจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์

    • ที่มาของชนชาติไทย - ความสัมพันธ์กับชนจีนแต่ครั้งก่อนประวัติศาสตร์
    • โยนกเชียงแสน - อาณาจักรใหม่ที่งดงามและรุ่งเรือง
    • กษัตริย์จีนส่งทูตมายังสุโขทัย - เชิญชวนร่วมสัมพันธ์ทางไมตรี
    • ว่าด้วยราชอาณาจักรสยาม - ในหนังสือหลวงของราชสำนักจีน
    • ท้าวอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยา - และความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับจีน
    • ความสัมพันธ์ในทางไมตรีกับจีน - สมเด็จพระบรมราชาธิราช (พะงั่ว)
    • ยุคสมัยสมเด็จพระราเมศวร - ความสัมพันธ์ทางไมตรีกับจีน
    • ความสัมพันธ์ในทางไมตรีกับจีน - สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราช
    • ความสัมพันธ์ในทางไมตรีกับจีน - สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
    • ความสัมพันธ์ในทางไมตรีกับจีน - และเหตุการณ์ไส้ศึกจีนจันตุ
    • สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ - การพระราชไมตรีกับจีนและญี่ปุ่นเหตุวุ่นวายสมัยพระเจ้าทรงธรรม
    • สมเด็จพระนารายณ์มหาราช - การทางพระราชไมตรีกับจีนและเหตุการณ์เกี่ยวกับชาติตะวันตก
    • พระเพทราชาก่อเหตุจลาจล - สงครามขับไล่ฝรั่งเศส และความสัมพันธ์ทางไมตรีกับจีน
    • สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ - จีนนายไก้ก่อกบฏ ยกพวกบุกปล้นพระราชวัง
    • ความสัมพันธ์ในทางไมตรีกับจีน - ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2

เนื้อหาปกหลัง : จีน-สยาม สายสัมพันธ์แห่งไมตรีจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์

ชนชาวจีนเดินทางเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบุรพกษัตริย์สยาม ทั้งมาค้าขาย รับราชการ พักอาศัยและตั้งรกรากสร้างฐานะ หลากหลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในราชสำนักสยาม ทั้งช่วงที่บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองมั่งคั่งหรือเกิดกลียุค ชาวจีนบางส่วนก็ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสู้ศึก เปิดบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรสยามกับจีนมหาประเทศแต่ครั้งโบราณ ด้วยหลักฐานบันทึกทางประวัติศาสตร์เก่าแก่ ของราชสำนักจีนและการผลัดเปลี่ยนแผ่นดินฮ่องเต้หลายยุคสมัย ควบคู่กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์พงศาวดารสยามแต่ครั้งสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์

รีวิวโดยผู้เขียน : จีน-สยาม สายสัมพันธ์แห่งไมตรีจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์

ความสัมพันธ์ระหว่างชนชาติจีนที่เดินทางจากบ้านเมืองเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบุรพกษัตริย์สยาม ทั้งที่มาค้าขาย รับราชการและอยู่พักอาศัยตั้งรกรากสร้างฐานะ และใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางการปรวนแปรและหลากหลายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในราชสำนักสยาม ทั้งช่วงที่บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง มั่งคั่ง และทั้งกลียุค เกิดสงครามสู้รบกับชาวต่างชาติ สุดท้ายในช่วงวันเวลาที่ข้าศึกยกทัพใหญ่มารุกรานย่ำยี ชาวจีนลบางส่วนก็ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสู้ศึก จนถึงนาทีสุดท้ายที่กรุงศรีอยุธยาต้องเสียเมืองให้แก่พม่า ในช่วงที่บ้านเมืองแตกเสียแก่พม่า ก็ได้พระยาตากซึ่งมีเชื้อสายจีนมาช่วยกอบกู้บ้านเมืองจนสยามเป็นอิสระและเร่งสร้างกรุงธนบุรีขึ้นเป็นราชอาณาจักร ท่ามกลางเพลิงแห่งสงครามที่ยังคงคุกรุ่นอยู่ตลอดเวลา ทรงแต่งทูตไปยังเมืองจีนเพื่อขอซื้อสินค้าต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการก่อสร้างบ้านเมือง แล้วบ้านเมืองก็ประสบความวุ่นวาย จนเกิดเป็นกลียุคขึ้นอีกครั้ง เมื่อพระเจ้าตากเสียพระสติจนถูกปลงพระชนม์และเจ้าพระยาจักรีสถาปนาตนขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรีแล้วย้ายเมืองหลวงจากธนบุรีมาเป็นกรุงเทพฯ แล้วเร่งสร้างบ้านบำรุงเมืองให้เจริญรุ่งเรือง ในช่วงก่อสร้างบ้านเมืองก็ได้คนงานชาวจีนจำนวนมากก็เกิดเป็นชุมชนชาวจีนและมีการตั้งกลุ่มสมาคมเป็นอั้งยี่ที่คอยดูแลคุ้มครองผลประโยชน์พวกคนจีนด้วยกัน จนกลายเป็นกลุ่มอันธพาลก่อเหตุวิวาท เป็นเหตุการณ์ใหญ่โต

เกริกฤทธิ์ เชื้อมงคล

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading