การเมืองเรื่องเล่าพระเจ้าตาก หลัง ๒๔๗๕

ผู้เขียน: ปฐมพงษ์ สุขเล็ก

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 รีวิว เขียนรีวิว

180.00 บาท

200.00 บาท ประหยัด 20.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

ในยุคสมัยหนึ่ง พระราชประวัติพระเจ้าตาก ถูกปลุกปั้นเพื่อคำว่า ชาติ < แสดงน้อยลง ในยุคสมัยหนึ่ง พระราชประวัติพระเจ้าตาก ถูกปลุกปั้นเพื่อคำว่า ชาติ
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

180.00 บาท

200.00 บาท
200.00 บาท
ประหยัด 20.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
244 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 21.4 x 1.3 CM
น้ำหนัก
0.27 KG
บาร์โค้ด
9789740215523

รายละเอียด : การเมืองเรื่องเล่าพระเจ้าตาก หลัง ๒๔๗๕

การเมืองเรื่องเล่าพระเจ้าตาก หลัง ๒๔๗๕

เรื่องสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยังคงเป็นที่กล่าวถึงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีการผลิตซ้ำและผลิตใหม่เรื่องราวของพระองค์อย่างต่อเนื่องทั้งพงศาวดาร หนังสือ บทความ สารคดี เรื่องสั้น นวนิยาย บทเพลง ละครโทรทัศน์ กระทั่งการพิมพ์แสดงความคิดเห็นและสื่อสังคมออนไลน์และประเด็นเกี่ยวกับพระองค์แตกต่างกับไปตามความเชื่อและหลังฐานของแต่ละบุคคล ถกเถียงกันว่าเรื่องใดเท็จเรื่องใดจริง ปรากฏการณ์เหล่านี้แสดงให้เห็นว่าเรื่องสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไม่เคยจางหายไปจากกระแสความคิดสังคมไทย

 

 


สารบัญ : การเมืองเรื่องเล่าพระเจ้าตาก หลัง ๒๔๗๕

    • ภาคการสร้างเรื่องเล่า
    • ภาคการสร้างความหมาย

เนื้อหาปกหลัง : การเมืองเรื่องเล่าพระเจ้าตาก หลัง ๒๔๗๕

พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสิน ปรากฏครั้งแรกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในรูปแบบพระราชพงศาวดารในฐานะเอกสารทางประวัติศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นสื่อที่ "เงียบ" สำหรับสามัญชนในยุคสมัยนั้น แต่เมื่อหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ เรื่องราวของพระองค์กลับแพร่หลายมากขึ้นในรูปแบบของวรรณกรรม เรื่องเล่าโดยเฉพาะการนำเสนอในมุมมองที่แตกต่างว่า พระองค์ไม่ได้พระสติวิปลาสและไม่ได้ถูกประหารชีวิต สิ่งที่น่าสนใจ และเป็นคำตอบสำหรับหนังสือเล่มนี้ คือ เหตุใดเหล่านักเขียนในยุคสมัยนั้นถึงพยายาม "ปลุกปั้น" พระเจ้าตากให้มีตัวตนฐานะวีรบุรุษของชาติ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading