ราษฎรสามัญ หลังวันปฏิวัติ 2475

ผู้เขียน: ศราวุฒิ วิสาพรม

สำนักพิมพ์: มติชน/matichon

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 รีวิว เขียนรีวิว

216.00 บาท

240.00 บาท ประหยัด 24.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 แต้ม

ศาสตราจารย์เกียรดิคุณ สายชล สัตยานุรักษ์ คำนิยม หลังอวสานสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่รัฐประชาชาติ ชีวิต สามัญชน จะเป็นเช่นไร < แสดงน้อยลง ศาสตราจารย์เกียรดิคุณ สายชล สัตยานุรักษ์ คำนิยม หลังอวสานสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่รัฐประชาชาติ ชีวิต สามัญชน จะเป็นเช่นไร
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com MayDay PayDeal หนังสือลด 10%*

216.00 บาท

240.00 บาท
240.00 บาท
ประหยัด 24.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
303 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14 x 21.5 x 1.5 CM
น้ำหนัก
0.342 KG
บาร์โค้ด
9789740214762

รายละเอียด : ราษฎรสามัญ หลังวันปฏิวัติ 2475

เมื่อย้านสำรวจงานศึกษาเกี่ยวกับการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ก็จะพบว่ามีอยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะผลงานวิชาการตั้งแต่ครึ่งหลังทศวรรษ ๒๕๒๐ เป็นต้นมา ได้บุกเบิกขยายของเขตการศึกษา (ณ ขณะนั้น) และวางรากฐานจนนำมาสู่การต่อยอดในการศึกษาอีกมากมายในเวลาต่อๆ มา แม้บางช่วงการรับรู้อดีตเกี่ยวกับการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ในสังคมไทยจะถูก "หลงลืม" ไปบ้าง ทว่าในบริบทสถานการณ์ทางการเมืองในห้วงเวลาตั้งแต่ปลายทศวรรษ ๒๕๔๐ ทำให้เกิดการตั้งคำถามกับการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตยโดยเฉพาะเมื่อเกิดการรัฐประกาีร เมื่อ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ กลายเป็นหมุดหมายสำคัญที่นำพาให้สังคมไทยย้อนระลึกถึงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์จุดเริ่มต้นของประชาธิปไตยไทย การปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ จึงได้กลับมาเป็นประเด็นสำคัฯญที่กล่าวถึงอีกึครั้งทั้งในแวดวงวิชาการและในการเคลื่อยไหวทางการเมืองของกลุ่มประชาชนที่เน้นย้ำถึงการปกครองในระบบประชาธิปไดตยโดยประชาชน ดังนั้นการปฏิวัิติ พ.ศ. ๒๔๗๕ กับประชาชนหลายเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันใน "ประวัติศาสตร์สำนึก" ชุดหนึ่งในบริบทสังคมการเมืองไทยในปัจจุบัน


คำนำ : ราษฎรสามัญ หลังวันปฏิวัติ 2475

การศึกษาค้นกว้าทางประวัติศาสตร์ของผู้เขียนส่วนหนึ่งมาจากวิทยานิพรธ์ที่ผู้เขียนได้เสนอต่อบัฯฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงหใ่ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๗ และได้ค้นหว้าเพิ่มเติมอีกภายหลังอีกภายหลังจากนั้นจนกระทั้งกลายเป็นหนังสือ "ราษฏรสามัญ หลังวัยปฏิวัติ ๒๔๗๕"

ที่มาและแรงบันดาลใจการทำงานวิจัยของผู้เขียนมาจาก (๑) ความสนใจประวัติศาสตร์แห่งชาตื และแนวทางการวิจัยประวัติศาสตร์สังคม (๒) ความสนใจเกี่ยวกับการปฏิวัติ พ.ศ.๒๔๗๕ ซึ่งเป็น "หมุตกมาย" จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ประชาธิปไตย และ (๓) ความมุ้งหวังที่จะนำเสนอถึงเรื่องราวชีวิตของสมัญชนให้มีพื้นทีร่ในประวัติศาสตร์ ซึ่งสอดรับกับแนวความคิดว่าด้วนการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ก่อใหเกิดรัฐประชาชาติ (ซึ่งนิยามในความหายสั้นๆ ตรงๆ ได้ว่าหมายถึงรัฐที่มีประชาชนเป็นเจ้าของฉ

เมื่อความปรารถนาส่วนตัวของผู้ผนวกกับบริบทบาทสังคมการเมืองหลังการรัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งกลายเป็นหมุดหมายสำคัญที่นำพาประวัติศาสตร์ "๒๔๗๕" กลับมาสู่การรับรู้และเป็นที่สนใจอีกครั้งทั้งในวงวิชาการและในสังคมไทย จึงเป็นแรงผลักดันสูการทำวิจัยนี้ขึ้นมา

เงื่อนไขและแรงผลักดันทั้ง ๓ ประการจึงนำไปสู่การเรียบร้อยถักทอให้เกิดงานศึกษาประวัติศาสตร์ในหนังาือเล่มนี้ ที่จะหล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง และรัฐอันเป็นผลจากการปฏิบัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ที่มีนัยเกี่ยวข้องกับสามัญชน

ศราวุฒิ วิสาพรม

ฤดูหนาว เชียงใหม่ ๒๕๕๘


สารบัญ : ราษฎรสามัญ หลังวันปฏิวัติ 2475

    สู่การปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ : การเคลื่อนไหวของราษฏรและความเปลี่ยนแปลงสังคมสยาม

    ราษฏรในเหตุการณ์ปฏิบัติ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕

    การเมืองและรัฐในชีวิตประจำของราศฏรหลังการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕

    ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับราษฏรสมัยแรกเริ่มรัฐประชาชาติ

    การเคลื่อนไหวทางการเมืองของราษฏรสมัยแรกเริ่มประชาชาติ

    พื้นที่ทางการเมืองของ "คนกลุ่มใหม่" การเลื่อนฐานะทางสังคมของราษฤรสามัญชนในสถาันการเมืองและระบบราชการของรัฐประชาชาติ


เนื้อหาปกหลัง : ราษฎรสามัญ หลังวันปฏิวัติ 2475

"....หนังสือ 'ราษฎรสามัญ หลังวันปฎิวัติ ๒๔๗๕' เล่มนี้ มุ่งแสดงให้เห็นความซับซ้อนของความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ภายหลังการปฎิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ที่ส่งผลกระทบต่อ 'ราษฎร' ในช่วงเวลาราว ๑๕ ปี ระหวาน พ.ศ. ๒๔๗๕ จงถึงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ซึ่งทำให้มองเห็นได้ว่าการปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ไม่ได้มีผลกระทบจำกัดอยู่แต่เฉพาะความเปลี่ยนแปลงในชิงโครงสร้างหรือสถาบัรทางการเมืองและกลุ่มชนชั้นนำและ/หรือข้าราชการเท่านั้น..."

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading