ทาง

ผู้เขียน: เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

สำนักพิมพ์: ประพันธ์สาส์น/praphansarn

หมวดหมู่: วรรณกรรม , เรื่องสั้น

0 รีวิว เขียนรีวิว

175.50 บาท

195.00 บาท ประหยัด 19.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

Tags: สนพประพันธ์สาส์น , ผู้แต่งประพันธ์สาส์น , หมวดเรื่องสสั้น

175.50 บาท

195.00 บาท
195.00 บาท
ประหยัด 19.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
0 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
0 x 0 x 0 CM
น้ำหนัก
0.185 KG
บาร์โค้ด
9786165109758

รายละเอียด : ทาง

   เสกสรรค์ ประเสริฐกุล ทำงานเขียนมานับตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่ผลงานเขียนของเสกสรรค์ ประเสริฐกุล เริ่มเผยแพร่อย่างเป็นทางการเมื่อเขายุติบทบาทนักปฏิวัติสังกัดค่ายพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เขาวางปืนและยอมแพ้ต่อรัฐบาลไทยกลับเข้าสู่สังคมเมืองอีกครั้ง ภายหลังได้รวบรวมงานเขียนของตนเองนำมาตีพิมพ์เผยแพร่ และยังคงทำงานเขียนต่อเนื่องยาวนานถึงสามทศวรรษ  งานเขียนของเสกสรรค์ ประเสริฐกุล ในช่วงทศวรรษแรก ได้แรงบันดาลใจมาจากงานกิจกรรมทางการเมืองตั้งแต่   ยังเป็นนักศึกษา ซึ่งเขาเคยเป็นแกนนำนักศึกษานำมวลชนเดินขบวนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516กระทั่งทำงานเป็นนักปฏิวัติ ได้เห็นชีวิตของคนชายขอบ ผู้พ่ายแพ้ที่สังคมทอดทิ้ง ดังที่เราจะได้เห็นชีวิตเจาะลึกของเหล่าชาวไร่ชาวนา  คนป่า เขาบนดอยต่างๆ รวมไปถึงชนชั้นแรงงานที่ถูกนายทุนและสังคมเมืองเอารัดเอาเปรียบ  ในช่วงทศวรรษหลังของชีวิตการทำงาน ประเด็นในงานเขียนของเสกสรรค์ ประเสริฐกุลกว้างขวางมากขึ้นไม่จำเพาะเจาะจงเฉกเช่นงานเขียนในช่วงทศวรรษแรก หากรวมเอาลักษณะหลายสิ่งหลายอย่างทั้งความคิดอารมณ์เบื้องลึก ความกังวล ความร้าวราน ไปจนถึงชีวิตในบทบาทต่างๆ ของเขาเอง ทำให้งานเขียนของประเสริฐกุล มีส่วนร่วมกับมันไว้ หากเขียนด้วยมุมมองที่หลากหลายขึ้น  ทาง (รวมเรื่องสั้นซ้ายผ่านศึก) เรื่องราวของเหล่าผู้วางมือจากงานปฏิวัติ หลังพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมืองของไทย   เส้นทางของเหล่านักปฏิวัตินั้นไปลงเอยที่ใดนั้นยากนักที่ใครจะรู้ ไม่ใช่เพียงเพราะมันเป็นความลับ หากแต่สังคมเอง  ก็ไม่อยากให้ผู้คนของเขารู้เห็นเช่นกัน ปล่อยให้ผู้พ่ายแพ้เหล่านั้นเป็นหลุมดำแห่งการรับรู้ของสังคม ไม่มีใครอยากรู้และไม่มีใครตั้งคำถามถึง ดังคำที่ว่า นักรบนั้นไม่มีวันตาย แค่เขาจะหายไป หายไปจากความรับรู้ของเรา อดีต                                                 

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading