CRYPTO INVESTOR MINDSET จิตวิทยาสำหรับนักลงทุนคริปโต

ผู้เขียน: Wolfgang Fallmann

สำนักพิมพ์: ธิงค์บียอนด์/Think Beyond

หมวดหมู่: บริหาร ธุรกิจ , การเงิน การลงทุน

0 รีวิว เขียนรีวิว

621.00 บาท

690.00 บาท ประหยัด 69.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 24 แต้ม

  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

Tags: CRYPTO INVESTOR MINDSET จิตวิทยาสำหรับนักลงทุนคริปโต , สนพThink Beyond , ผู้แต่งWolfgang Fallmann , หมวด การลงทุน

621.00 บาท

690.00 บาท
690.00 บาท
ประหยัด 69.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 24 แต้ม

จำนวน :

1

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
จำนวนหน้า
192 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
17 x 24 x 1.2 CM
น้ำหนัก
0.44 KG
บาร์โค้ด
9786164494220

รายละเอียด : CRYPTO INVESTOR MINDSET จิตวิทยาสำหรับนักลงทุนคริปโต

     หลักการคิดที่ถูก เลี่ยงความคิดที่ผิด เหมาะกับเทรดเดอร์ทุกคน คริปโต หุ้น และ FOREX รู้อะไรไม่สู้รู้งี้ อ่านเล่มนี้ก่อนสูญเงินเขียนโดย Wolfgang Fallmannบรรณาธิการพิเศษโดย ดร. ทิพย์นภา หวนสุริยา อาจารย์คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Book Summary สรุปหนังสือ:หนังสือจิตวิทยาการลงทุนสำหรับนักลงทุนคริปโทเคอเรนซี (เทรดเดอร์หุ้น FOREX ก็อ่านได้) รวมหลักการและงานวิจัยทางจิตวิทยา วิธีจัดการอารมณ์ เครื่องมือทางสถิติอย่างง่ายๆ วิธีรับมือสถานการณ์ตลาด รู้ทัน error ต่างๆ ของจิตใจมนุษย์ เพื่อป้องกันการสูญเสียเงินและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการลงทุนแย่ๆ ที่เกิดมาจากความผิดพลาดของความคิด สภาวอารมณ์ ความรู้สึกของมนุษย์ดาวน์โหลด Book Preview ตัวอย่างข้างในหนังสือที่นี่https://forms.gle/SQbkdFrEyeCi4Uje9 หนังสือเล่มนี้แก้ปัญหาอะไร:เคยพบเหตุการณ์แบบนี้ใช่ไหม?
- พอร์ตลงทุนยังเคยเขียว แต่แป๊บเดียวก็หายวับไปกับตา!
- เจอเหรียญราคาพุ่งแรง กลัวตกรถ ก็เลยเข้าตลาดตอนใกล้จุดพีค แล้วราคาก็ร่วงลงมา ได้แต่มองตาปริบๆ ในฐานะผู้แพ้ …รู้งี้ไม่ซื้อดีกว่า
- ราคาเหรียญร่วงพังวอดวาย ตัวเลขพอร์ตติดแดงก่ำ เลยยอมขายตัดขาดทุนที่ราคาต่ำเตี้ย แต่สักพักราคาก็ฟื้นกลับมา อดกำไรไปอีก …รู้งี้ยังไม่ขายดีกว่า


สารบัญ : CRYPTO INVESTOR MINDSET จิตวิทยาสำหรับนักลงทุนคริปโต

      คำนำ
    บทนำ วิธีการคิดและตัดสินใจระบบความคิด (system) 2 ระบบทางลัดทางความคิด (Intellectual Abbreviation)

    **บทที่ 1 ทำไมเราจึงไม่ควรเชื่อตัวเอง**
    - WYSIATI (กฎ “คุณเห็นเท่าไรก็มีเท่านั้น”) มีเพียงสิ่งที่เรารู้เท่านั้นที่สำคัญ
    - Hindsight bias (อคติ “ฉันว่าแล้วเชียว”) เราคิดว่าเรารู้มาตลอดว่าจะเกิดอะไรขึ้น
    - Outcome Bias (อคติการตัดสินจากผลลัพธ์) ในท้ายที่สุดผลลัพธ์จะตัดสินทุกสิ่ง
    - Clustering illusion (ภาพลวงว่ามีการจับกลุ่ม) เหตุผลที่เรามองเห็นสิ่งที่ไม่มีจริง
    - Sunk cost effect (ผลของการเสียดายต้นทุนที่จมไปแล้ว) สาเหตุที่เรายังยึดติดกับการลงทุนทั้ง ๆ ที่มันไม่สมเหตุสมผลอีกต่อไปแล้ว
    - Endowment effect (ผลของความเป็นเจ้าข้าวเจ้าของ) สาเหตุที่เรารู้สึกว่าของที่เราเป็นเจ้าของแล้วมีราคาแพงขึ้น
    - Optimism bias (อคติมองโลกในแง่ดี) สาเหตุที่การมองโลกในแง่ดีทำให้เราเสียทรัพย์
    - Planning fallacy (ตรรกะวิบัติในการวางแผน) เราต้องการเวลามากกว่าที่เราคิดเสมอ

    **บทที่ 2 สาเหตุที่เราไม่ควรไว้วางใจสิ่งรอบตัว**
    - Anchoring effect (ผลของหมุดอ้างอิง) ตัวเลขต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลงทุนของเราอย่างไร
    - Priming (การชี้นำ) สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลกับเราโดยที่เราไม่รู้ตัวได้อย่างไร
    - Mere-exposure effect (ผลของการเพียงแค่ได้เจอบ่อย) ยิ่งบ่อยยิ่งดี
    - Framing (การวางกรอบมุมมอง) สาเหตุที่เราเปลี่ยนใจเมื่อบางสิ่งถูกนำเสนอต่างออกไป

    **บทที่ 3 สาเหตุที่เราไม่ควรเชื่อผู้เชี่ยวชาญและคู่มือทั้งหลาย**
    - Halo effect (ผลของเฮโล) ภาพลักษณ์มันหลอกลวงกันได้ อย่าหลงเสน่ห์เชียวนะ!
    - Illusion of competence (ภาพลวงของความสามารถ) สาเหตุที่ผู้เชี่ยวชาญไม่ได้คาดการณ์ได้ดีไปกว่าใคร
    - Insight illusion (ภาพลวงของความรู้) สาเหตุที่คุณไม่ควรอ่านเรื่องราวแห่งความสำเร็จ
    - Overconfidence bias (อคติมั่นใจเกินเหตุ) เหตุผลที่ CFO ไม่สามารถคาดการณ์ราคาได้

    **บทที่ 4 ทำไมเรารู้สึกเจ็บปวดจากการสูญเสียมากกว่ารู้สึกยินดีจากการได้รับ**
    - Prospect theory (ทฤษฎีคาดหวัง) การตัดสินใจในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
    - Loss aversion (การหลีกเลี่ยงความสูญเสีย) สาเหตุที่เราทำให้ตนเองเสียกำไร
    - Disposition effect (ดิสโพสิชั่นเอ็ฟเฟ็ค) สาเหตุที่เราสูญเสียผลตอบแทนทั้งที่เราขายหุ้นที่ได้กำไร
    - Certainty effect (ผลของความแน่นอน) และ possibility effect (ผลของความเป็นไปได้) วิธีการที่ล็อตเตอรี่กับบริษัทประกันปล้นเงินเรา
    - Allais paradox (อัลเลส์พาราดอกซ์)

    **บทที่ 5 อารมณ์และความรู้สึก สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลงทุนของเรา**
    - Affect heuristic (ฮิวริสติกโดยอารมณ์) ความรู้สึกและอารมณ์ของเราเป็นผู้ตัดสิน
    - Regret (ความเสียใจกับสิ่งที่ทำลงไป) เหตุผลที่เราเสียใจกับการลงทุนบางเรื่องทั้งที่ไม่ควรต้องรู้สึกอย่างนั้น
    - Disappointment (ความผิดหวัง) เหตุผลที่เราไม่ควรรู้สึกผิดหวังจากการลงทุนบางอย่าง
    - Fear and greed (ความกลัวและความโลภ) ผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนของเรา
    - Availability cascade (การไหลกระหน่ำของข้อมูลที่นึกถึงได้ง่าย) สิ่งที่กระตุ้นกระแสตื่นลงทุนและการล่มสลายของตลาด
    - Ego-Depletion (ภาวะสมองล้า) เหตุผลที่เราไม่ควรตัดสินใจเรื่องการลงทุนในตอนเย็น

    **บทที่ 6 สถิติและความน่าจะเป็น**
    - Base rate fallacy (ตรรกะวิบัติจากการละเลยอัตราฐาน) สาเหตุที่การละเลยความน่าจะเป็นทำให้เราเสียเงิน
    - Availability error (ความผิดพลาดจากการนึกถึงได้ง่าย) เราเชื่อสิ่งที่เรานึกได้เร็วสุด
    - Representativeness heuristics (ฮิวริสติกความเป็นตัวแทน) อย่าเชื่อสิ่งที่เห็นได้ชัด
    - Denominator effect (ผลของการละเลยตัวหาร) เหตุผลที่เราให้น้ำหนักความน่าจะเป็นผิด
    - Correlation-causation error (การสับสนระหว่างสหสัมพันธ์กับสาเหตุ) ทุกคนที่ดื่มน้ำจะตาย
    - Conjunction fallacy (ตรรกะวิบัติจากความน่าจะเป็นร่วม) ยิ่งเรื่องราวเฉพาะเจาะจงเท่าไร มันยิ่งไม่น่าเป็นไปได้เท่านั้น
    - Regression effect (ผลของการถดถอยกลับสู่ค่าเฉลี่ย) เรื่องแย่ ๆ จะดีขึ้น

    **บทที่ 7 หลักการสำหรับการลงทุนที่ประสบความสำเร็จ**
    - สาเหตุที่กฎง่าย ๆ ทำให้เราเป็นนักลงทุนที่ดีขึ้น
    - ตัดสินใจด้วยเหตุผล
    - หลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดในการคิด
    - หลักการสำหรับการใช้ระบบคิดสองระบบ (System I & II)
    - หลักการสำหรับกฎคุณเห็นเท่าไรก็มีเท่านั้น (WYSIATI)
    - หลักการสำหรับอคติ “ฉันว่าแล้วเชียว” (hindsight bias)
    - หลักการสำหรับอคติยืนยันความคิดตนเอง (confirmation bias)
    - หลักการสำหรับภาพลวงว่ามีการจับกลุ่ม (clustering illusion)
    - หลักการสำหรับผลของการเสียดายต้นทุนที่จมไปแล้ว (sunk cost effect)
    - หลักการสำหรับผลของการเป็นเจ้าข้าวเจ้าของ (endowment effect)
    - หลักการสำหรับอคติมองโลกในแง่ดี (optimism bias)
    - หลักการสำหรับตรรกะวิบัติในการวางแผน (planning fallacy)
    - หลักการสำหรับผลของหมุดอ้างอิง (anchoring effect)
    - หลักการสำหรับการชี้นำ (priming)
    - หลักการสำหรับผลของการเพียงแค่ได้เจอบ่อย (mere-exposure effect)
    - หลักการสำหรับการวางกรอบมุมมอง (framing)
    - หลักการสำหรับผลของเฮโล (halo effect)
    - หลักการสำหรับภาพลวงของความสามารถ (illusion of competence)
    - หลักการสำหรับภาพลวงของความรู้ (insight illusion)
    - หลักการสำหรับอคติมั่นใจเกินเหตุ (overconfidence bias)
    - หลักการสำหรับทฤษฏีคาดหวัง (prospect theory)
    - หลักการสำหรับการหลีกเลี่ยงความสูญเสีย (loss aversion)
    - หลักการสำหรับดิสโพสิชั่นเอ็ฟเฟ็ก (disposition effect)
    - หลักการสำหรับผลของความแน่นอนและผลของความเป็นไปได้ (certainty and possibility effect)
    - หลักการสำหรับฮิวริสติกโดยอารมณ์ (affect heuristic)
    - หลักการสำหรับความเสียใจกับสิ่งที่ทำลงไป (regret)
    - หลักการสำหรับความผิดหวัง (disappointment)
    - หลักการสำหรับความกลัวและความโลภ (fear and greed)
    - หลักการสำหรับการไหลกระหน่ำของข้อมูลที่นึกถึงได้ง่าย (availability cascade)
    - หลักการสำหรับภาวะสมองล้า (ego-depletion)
    - หลักการสำหรับตรรกะวิบัติจากการละเลยอัตราฐาน (basic rate fallacy)
    - หลักการสำหรับความผิดพลาดจากการนึกถึงได้ง่าย (availability error)
    - หลักการสำหรับฮิวริสติกความเป็นตัวแทน (representative heuristics)
    - หลักการสำหรับผลของการละเลยตัวหาร (denominator effect)
    - หลักการสำหรับการสับสนระหว่างสหสัมพันธ์และสาเหตุ (correlation-causation error)
    - หลักการสำหรับตรรกะวิบัติจากความน่าจะเป็นร่วม (conjunction fallacy)
    - หลักการสำหรับผลของการถดถอยกลับสู่ค่าเฉลี่ย (regression effect)
    - อย่าเชื่อผู้เชี่ยวชาญ
    - ควบคุมอารมณ์ของคุณ
    - จดบันทึกการลงทุน
    - วิธีคำนวณค่าคาดหวัง (expected value)
    - สร้างวิธีคิดแบบเบย์ส (Bayesian way of thinking)
    - ชันสูตรก่อนเกิดเหตุ (Pre-mortem method)
    - ทดสอบสมมุติฐาน (Hypothesis testing)
    - สิ่งที่ควรทำในภาวะกระแสตลาดบูม (hype) และตลาดล่ม (crash)

    บทส่งท้าย
    คำขอบคุณ
    เกี่ยวกับผู้เขียน
    อภิธานศัพท์
    แหล่งข้อมูลอ้างอิง

     

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading