หอจดหมายเหตุต่างประเทศทูลกระหม่อมอาจารย์

ผู้เขียน: พันเอก ดร.สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ

สำนักพิมพ์: มูลนิธิสถาบันสร้างสร

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 รีวิว เขียนรีวิว

247.50 บาท

275.00 บาท ประหยัด 27.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 แต้ม

สร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมการเป็นต้นแบบของการค้นคว้ารวบรวมจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทยจากต่างประเทศ ที่มีผลผลืตในเชิงประจักษ์ < แสดงน้อยลง สร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมการเป็นต้นแบบของการค้นคว้ารวบรวมจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทยจากต่างประเทศ ที่มีผลผลืตในเชิงประจักษ์
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com MayDay PayDeal หนังสือลด 10%*

Tags: จดหมายเหตุ , ประวัติศาสตร์

247.50 บาท

275.00 บาท
275.00 บาท
ประหยัด 27.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 9 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
292 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.4 x 20.9 x 1.6 CM
น้ำหนัก
0.357 KG
บาร์โค้ด
9786165907583

รายละเอียด : หอจดหมายเหตุต่างประเทศทูลกระหม่อมอาจารย์

หอจดหมายเหตุต่างประเทศทูลกระหม่อมอาจารย์

เมื่อข้าพเจ้ามีโอกาสไปต่างประเทศ จึงไปดูหอจดหมายเหตุต่างประเทศ เห็นว่ามี
เอกสารที่จะมีประโยชน์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยอยู่มาก ถึงจะเป็นหอจดหมายเหตุ
ที่คนไทยไปค้นคว้าแล้ว ก็ควรไปถ่ายสำเนากลับมา เนื่องจากระบบของหอจดหมายเหตุ
ต่างประเทศคือ จะเปิดเผยเอกสารเมื่อครบทำหนด เช่น 30 ปี 50 ปี 100 ปีเป็นต้น จะทำ
ให้มีเอกสารใหม่ๆ ออกมาทุกปี    

ข้าพเจ้าเองไม่มีโอกาสที่จะไปนั่งค้นคว้า หรือเขียนบทความอะไรทางวิชาการมากนัก
จึงขอแรงเพื่อนร่วมงานให้ไปช่วยอ่านและเลือกเอกสารที่มีประโยชน์มาไว้ที่
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เมื่อเอามาถึงได้ทำเรื่องย่อจัดหมวดหมู่ ภายหลัง
จัดทำข้อมูลลงคอมผิวเตอร์เป็นระบบดิจิตอลเพื่อให้ง่ายต่อการค้นคว้า หวังว่านอกจาก
อาจารย์และนักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าจะได้รับประโยชน์แล้ว ผู้อื่นโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งผู้ที่อาจจะไม่ได้มีโอกาสไปศึกษาค้นคว้าในต่างประเทศ จะได้อาศัยค้นคว้าให้ได้
ความคิดเบื้องต้น เพื่อให้ได้แรงบันดาลใจให้ไปทำงานให้ลีกซึ้งยิ่งขึ้น...


สารบัญ : หอจดหมายเหตุต่างประเทศทูลกระหม่อมอาจารย์

    • บทที่ ๑ บทนำ
    • บทที่ ๒ ความเป็นมา: พระราชดำริและพระราชประสงค์
    • บทที่ ๓ เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์จากต่างประเทศ: การรวบรวมและจัดเก็บ
    • บทที่ ๔ การเผยแพร่เอกสารสำคัญ: การจัดงานสัมมนาทางวิชาการ
    • บทที่ ๕ การแปลเอกสารสำคัญ: เกาหลี จีน ญี่ปุ่น รัสเซีย สหรัฐอเมริกา และเพื่อนบ้านอาเซียน
    • บทที่ ๖ การวิจัยเชิงลึก งานเขียนสร้างสรรค์ทางประวัติศาสตร์ไทย: สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ สมัยสงครามเย็นและยุคหลังสงครามเย็น
    • บทที่ ๗ การบริการความรู้ให้แก่ผู้สนใจ: นักวิชาการ นิสิตนักศึกษาในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด
    • บทที่ ๘ โครงการสืบสานพระราชดำริฯ: การวิจัยเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่จากหอจดหมายเหตุต่างประเทศ
    • บทที่ ๙ บทสรุปและส่งท้าย

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading