ทฤษฎีกษัตริย์โพธิสัตว์: เวสสันดรชาดกในประวัติศาสตร์ไทย

ผู้เขียน: แพทริค โจรี

สำนักพิมพ์: ILLUMINATIONS

หมวดหมู่: ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา , ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา

0 รีวิว เขียนรีวิว

408.00 บาท

480.00 บาท ประหยัด 72.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 16 แต้ม

เราต้องสำรวจลึกถึงรากความคิดว่าด้วยสถาบันกษัตริย์ของไทย ให้เห็นความหมายที่แท้จริงของคำว่า สถาบันกษัตริย์ ในบริบทศาสนาและวัฒนธรรม < แสดงน้อยลง เราต้องสำรวจลึกถึงรากความคิดว่าด้วยสถาบันกษัตริย์ของไทย ให้เห็นความหมายที่แท้จริงของคำว่า สถาบันกษัตริย์ ในบริบทศาสนาและวัฒนธรรม
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com MARCH EXTRA Sale เล่มไหนก็ลดใหญ่ ใหญ่ แต่เล่มแรกลด 15%

408.00 บาท

480.00 บาท
480.00 บาท
ประหยัด 72.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 16 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
432 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.2 x 21 x 2.3 CM
น้ำหนัก
0.539 KG
บาร์โค้ด
9786168215203

รายละเอียด : ทฤษฎีกษัตริย์โพธิสัตว์: เวสสันดรชาดกในประวัติศาสตร์ไทย

ทฤษฎีกษัตริย์โพธิสัตว์: เวสสันดรชาดกในประวัติศาสตร์ไทย

เมื่อการดำรงอยู่ของสถาบันกษัตริย์ไทยมาถึงทางแยกเช่นนี้ เราจะอธิบายอิทธพลของสถาบันที่มีต่อสังคมไทยแทบทุกแง่มุม ตามความเป็นจริงได้อย่างไร คำอธิบายเรื่องเผด็จการทหารที่มีสหรัฐอเมริกาหนุนหลังและคอยอาศัยบารมีของพระมหากษัตริย์นั้นตอบคำถามได้เพียงบางส่วน การจะเข้าใจให้รอบด้านมากขึ้นเราต้องสำรวจลึกถึงรากความคิดว่าด้วยสถาบันกษัตริย์ของไทย ให้เห็นความหมายที่แท้จริงของคำว่า "สถาบันกษัตริย์" ในบริบทศาสนาและวัฒนธรรม

หนังสือเล่มนี้ว่าด้วยทฤษฎีสถาบันกษัตริย์ของไทย และชาดกอันเป็นประเภทวรรณกรรมศาสนาที่กล่าวได้ว่ามีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้ทฤษฎีนี้แพร่หลายมากกว่า 700 ปี หนังสือเล่มนี้จะเน้นชาดกเรื่องที่นิยมกันมากที่สุดคือ เวสสันดรชาดก ซึ่งอาจเป็นชาดกที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในพุทธศาสนาเถรวาทของไทย เป็นเวลานับศตวรรษที่พระเวสสันดรได้สร้างกระบวนทัศน์อันเป็นแบบฉบับของผู้นำในอุดมคติไว้ในวัฒนธรรมการเมืองไทย ทั้งสำหรับพระมหากษัตริย์และเจ้านายทั้งหลาย ตลอดจนไพร์ฟ้าข้าแผ่นดิน เหตุใดชาดกเรื่องนี้จึงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวไทยมายาวนาน และทำไมจึงเริ่มหมดความนิยมไปจากราชสำนักในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ต้นพุทธศตวรรษที่ 25)


สารบัญ : ทฤษฎีกษัตริย์โพธิสัตว์: เวสสันดรชาดกในประวัติศาสตร์ไทย

    • บทนำ สถานภาพของเวสสันดรชาดกในวัฒนธรรมทางศาสนาของไทย เวสสันดรชาดกในฐานะวรรณกรรมการเมือง บารมี: รากฐานของทฤษฎีว่าด้วยกษัตริย์ในพุทธศาสนาเถรวาท
    • บทที่ 1 เวสสันดรชาดกในฐานะคัมภีร์เทศนา
    • บทที่ 2 เวสสันดรชาดกกันการก่อตั้งรัฐแรกเริ่ม
    • บทที่ 3 ทฤษฎีกษัตริย์แบบพุทธศาสนาเถรวาท
    • บทที่ 4 การท้าทายของเจ้าอาณานิคมต่อกษัตริย์ชาวพุทธ
    • บทที่ 5 การศึกษาพุทธศาสนาของไทยและตะวันตกในยุคจักรวรรดินิยม
    • บทที่ 6 จากชาดกสู่นิทานพื้นบ้านของไทย
    • บทสรุป เวสสันดรสมัยใหม่

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading