ศาสนากับความรุนแรง

ผู้เขียน: ปรีดี หงษ์สต้น และอัมพร หมาดเต็น

สำนักพิมพ์: ILLUMINATIONS EDITIO

หมวดหมู่: ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา , ธรรมะ ศาสนา และปรัชญา

5 (1) เขียนรีวิว

467.50 บาท

550.00 บาท ประหยัด 82.50 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 54 คะแนน

ยังมีความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์ การสงคราม ความรุนแรง และการออกบวช ที่ลึกซึ้งและยังไม่เป็นที่เข้าใจอย่างชัดเจนนักในประวัติศาสตร์อินเดีย < แสดงน้อยลง ยังมีความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์ การสงคราม ความรุนแรง และการออกบวช ที่ลึกซึ้งและยังไม่เป็นที่เข้าใจอย่างชัดเจนนักในประวัติศาสตร์อินเดีย
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com มหกรรมนิยายออนไลน์ 24 #ใครฆ่าลิลลี่ หนังสือเล่มลด 15%*

467.50 บาท

550.00 บาท
550.00 บาท
ประหยัด 82.50 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 54 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
464 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
16.5 x 23.9 x 2.8 CM
น้ำหนัก
0.723 KG
บาร์โค้ด
9786168215029

รายละเอียด : ศาสนากับความรุนแรง

ศาสนากับความรุนแรง

ยังมีความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์ การสงคราม ความรุนแรง และการออกบวช ที่ลึกซึ้งและยังไม่เป็นที่เข้าใจอย่างชัดเจนนักในประวัติศาสตร์อินเดีย ความสัมพันธ์นี้มีรากฐานยาวนานมาตั้งแต่ในกระบวนทัศน์แบบอินเดียโบราณ ซึ่งสร้างพันธะผูกพันภายในจิตวิญญาณระหว่างนักบวชกับวรรณะกษัตริย์ ผู้เป็นเจ้าแห่งการบูชายัญที่รุนแรงกันทั้งสองฝ่าย...

นักบวช-นักรบเป็นเครื่องแสดงความสัมพันธ์ระหว่างวิถีการบําเพ็ญพรตกับการใช้ความรุนแรงเป็นกลุ่มในพื้นที่สาธารณะ ในรูปของสงครามเป็นระบบ การนํา ตรีศูล ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวิถีนักรบของศาสนาฮินดูกลับมาใช้ใหม่ในปัจจุบัน เกิดขึ้นจากเส้นแบ่งที่จางลงระหว่างบทบาทของกษัตริย์กับนักบวชในประวัติศาสตร์อินเดีย ในขณะที่พิธีบูชายัญของราชสํานักเป็นการแสดงแก่สาธารณะ มีจุดประสงค์เพื่อรักษาระเบียบ ความรุ่งเรือง และกลุ่มอํานาจในระดับจักรวาลและศักดิ์สิทธิ์

อรชุน อัปปาดูรัย, ศีลธรรมแห่งการปฏิเสธ


สารบัญ : ศาสนากับความรุนแรง

    • บทที่ 1 ศีลธรรมแห่งการปฏิเสธ โดย อรชุน อัปปาดูรัย แปลโดย ทศพล ศรีพุ่ม
    • บทที่ 2 ศาสนากับการเมืองในพม่า: ว่าด้วยการทำให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ, ค.ศ. 1948-1962 โดย ลลิตา หาญวงษ์
    • บทที่ 3 บทบาทของอุดมการณ์ "พุทธศาสนา-ชาตินิยมสุดโต่ง" กับ ความขัดแย้งระหว่างชาวพุทธยะไข่กับชาวมุสลิมโรฮิงญา โดย เอนกชัย เรืองรัตนากร
    • บทที่ 4 จากพหุนิยมอาณานิคมสู่พหุวัฒนธรรมนิยมหลังอาณานิคม: บทสำรวจเบื้องต้นว่าด้วยชาติพันธุ์และความเป็นพลเมืองในมาเลเซีย โดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
    • บทที่ 5 อินโดนีเซีย รัฐอิสลาม และอูลามาอาเจะห์: กรณีกฎหมายอิสลามในอาเจะห์ ค.ศ.1945-1962 โดย อรอนงค์ ทิพย์พิมล
    • บทที่ 6 ชาวซิกข์และปฏิบัติการสันติวิธี โดย ศิวัช ศรีโภคางกุล
    • บทที่ 7 ข้อสังเกตเบื้องต้นต่อการเมืองพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา: จากพุทธชยันตีสู่องค์กรพุทธพลเสนา โดย ปรีดี หงษ์สต้น
    • บทที่ 8 รัฐฆราวาสและความรุนแรงในรัฐพุทธ: กรณีของไทยและเมียนมา โดย เฮเลน เจมส์ แปลโดย ลลิตา หาญวงศ์

รีวิว


5.0
5 (1)
  • 5
    100 %
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%