ปัญญาแห่งเซน

ผู้เขียน: หวังเหยียน

สำนักพิมพ์: วารา

หมวดหมู่: จิตวิทยา การพัฒนาตัวเอง , การพัฒนาตัวเอง how to

0 รีวิว เขียนรีวิว

170.00 บาท

200.00 บาท ประหยัด 30.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 แต้ม

ค้นหาลึกเข้าไปในปรัชญาของชีวิต และนำเรื่องราวต่างๆ มาอธิบายเพิ่มเติมทำให้คุณได้ใช้ใจลิ้มลองการชำระจิตใจและเรียนรู้คู่มือปัญญาที่เซนนำมาให้ < แสดงน้อยลง ค้นหาลึกเข้าไปในปรัชญาของชีวิต และนำเรื่องราวต่างๆ มาอธิบายเพิ่มเติมทำให้คุณได้ใช้ใจลิ้มลองการชำระจิตใจและเรียนรู้คู่มือปัญญาที่เซนนำมาให้
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com MARCH EXTRA Sale เล่มไหนก็ลดใหญ่ ใหญ่ แต่เล่มแรกลด 15%

170.00 บาท

200.00 บาท
200.00 บาท
ประหยัด 30.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
210 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
12.6 x 19 x 1.3 CM
น้ำหนัก
0.211 KG
บาร์โค้ด
9786168158432

รายละเอียด : ปัญญาแห่งเซน

ปัญญาแห่งเซน

ปัญญาของเซน "พระสูตร" ของท่านพระเถระฮุ่ยเหนิง (เว่ยหลาง) พระสังฆปริฒายกองค์ที่ 6 ได้รับการบันทึกสิ่งที่ท่านได้รับและความคิดเชิงลึกของท่านต่อธรรมะ ท่านเป็นผู้เดียวที่มาจากผืนแผ่นดินจีน และมีผลงานที่ได้รับการยอมรับจากคนรุ่นหลังให้เป็น "พระคัมภีร์" ตัวท่านเองนั้นไม่รู้หนังสือ แต่พระสูตรได้ถูกเรียบเรียงขึ้นจากคำพูดของท่านโดยศิษย์ทั้งหลาย

"พระสูตร" ถือได้ว่าเป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่และมีอำนาจมากที่สุดของนิกายเซนของจีน เหตุเพราะมีอายุยาวนานหลายพันปี นอกจากจะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในทางพุทธศาสนาแล้ว ความง่ายต่อการเข้าใจของพระสูตรก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่สำคัญ

หนังสือเล่มนี้เริ่มจากการนำต้นฉบับ "พระสูตร" ค้นหาลึกเข้าไปในปรัชญาของชีวิต และนำเรื่องราวต่างๆ มาอธิบายเพิ่มเติมทำให้คุณได้ใช้ใจลิ้มลองการชำระจิตใจและเรียนรู้คู่มือปัญญาที่เซนนำมาให้ ด้วยความรู้สึกที่สุขสบายใจ


คำนำ : ปัญญาแห่งเซน

เมื่อพูดถึงเซน ผู้คนมักจะนึกถึงวัดโบราณ ภูเขาลึก หรือภาพของพระภิกษุนั่งสมาธิ อย่างไรก็ดี เซนคือการทำสมาธิ แต่ก็มิใช่การทำสมาธิเสียทีเดียว เซนคือปรัชญาชีวิตอย่างหนึ่ง ที่ประกอบด้วยปรัชญาและปัญญาที่ลึกซึ้ง เพียงต้องไตร่ตรองถึงความจริงแท้ ถ้าเช่นนั้นการนั่งก็คือเซน ตลอดเวลาและทุกหนทุกแห่ง

นักปราชญ์ในสมัยโบราณต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับเซนทั้งสิ้น หลี่ไป๋ตั้งสมญานามของตนว่า คฤหัสถ์แห่งชิงเหลียน ซูชื่อมีนามแฝงว่า คฤหัสถ์แห่งตงพัว หลี่ชิงจ้าวตั้งนามปากกาของตนว่า คฤหัสถ์อี้อัน โอวหยางมีนามปากกาว่า คฤหัสถ์หกหนึ่ง คำว่า คฤหัสถ์มาจากผู้ที่ให้ความเคารพและศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงมีนักปราชญ์มากมายตั้งสมญานามของตนว่าคฤหัสถ์ แสดงให้เห็นว่าเซนมีอิทธิพลอยู่ไม่น้อย

เซนมิใช่การตกผลึกของปัญญา แต่เป็นการรวมจิตวิญญาณของลัทธิขงจื้อ ลัทธิเต๋า และศาสนาพุทธไว้ด้วยกัน เซนไม่ใช่เรื่องของพระภิกษุ และไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของพระป่าเท่านั้นที่ต้องตระหนักถึง แต่เซนเป็นสิ่งที่ประกอบด้วยปรัชญาภูมิปัญญาแห่งชีวิต ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องตระหนักถึง

ผู้คนต่างเรียนรู้เซนผ่านมรดกที่นักบวชเซนหลายท่านได้มอบไว้ให้ ทั้งจากพระคัมภีร์และบทกวี ยิ่งทำให้การเข้าถึงปรัชญาของชีวิตเป็นเรื่องที่ไม่ยาก ทั้งยังได้รับการปลดปล่อย ได้รับความเป็นอิสระของจิตวิญญาณ รวมถึงการแนะแนวของทางชิวิต


สารบัญ : ปัญญาแห่งเซน

    • บทที่ 1 เซนคือสภาวะจิต
    • ความสุขอยู่ที่ใจเรา
    • ลมพัด ธงโบกสะบัด หรือจิตใจที่เปี่ยมด้วยเมตตา
    • บทที่ 2 เซนคือทัศนคติต่อชีวิต
    • ใช้ความคิดที่ถูกต้องชี้นำการกระทำ
    • พึ่งผู้อื่นไม่สู้พึ่งตนเอง (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)
    • บทที่ 3 เซนคือวิถีแห่งการดำเนินชีวิต
    • ถอยเพื่อเดินหน้า เรียนรู้ที่จะโค้งงอ (อ่อนน้อม)
    • ไม่มีกฎ ไม่มีกรอบ

เนื้อหาปกหลัง : ปัญญาแห่งเซน

ปัญญาแห่งเซน

  • ความสุขอยู่ที่ใจเรา
  • ปล่อยให้มันเป็นไป
  • รักษาสมดุลของใจ
  • คนใจกว้าง ถึงจะทำงานใหญ่ได้
  • ใช้ความคิดที่ถูกต้องชี้นำการกระทำ
  • ความหอมของดอกเหมยมาจากความหนาวเหน็บ
  • ยากจน แต่ไม่ตัดเพ้อ ร่ำรวย แต่ไม่เย่อหยิ่ง
  • ความสำเร็จ ความล้มเหลว อยู่ระหว่างความคิด
  • ใช้จุดแข็งของผู้อื่น เสริมจุดอ่อนของตนเอง
  • การปล่อยวาง ถือเป็นความกล้าหาญอย่างหนึ่ง

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading