เมนทอร์ MENTOR ต่อยอดประสบการณ์

ผู้เขียน: ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ

สำนักพิมพ์: อริยชน

หมวดหมู่: จิตวิทยา การพัฒนาตัวเอง , การพัฒนาตัวเอง how to

0 รีวิว เขียนรีวิว

175.50 บาท

195.00 บาท ประหยัด 19.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

CFM คือ ในคนๆ เดียวกัน เราควรฝึกฝนตันเองให้เป็นทั้ง โค้ช ฟา และเมนทอร์ โค้ช เปิดศักยภาพให้เผู้เรียนรู้ ในขณะที่ ฟา สอนโดยไม่รู้ว่าถูกสอน และ เมนทอร์ นอกจากจะเป็นทั้งโค้ช และ ฟา แล้ว ยังต่อยอดประสบการณ์ให้ผู้เรียนรู้อีกด้วย < แสดงน้อยลง CFM คือ ในคนๆ เดียวกัน เราควรฝึกฝนตันเองให้เป็นทั้ง โค้ช ฟา และเมนทอร์ โค้ช เปิดศักยภาพให้เผู้เรียนรู้ ในขณะที่ ฟา สอนโดยไม่รู้ว่าถูกสอน และ เมนทอร์ นอกจากจะเป็นทั้งโค้ช และ ฟา แล้ว ยังต่อยอดประสบการณ์ให้ผู้เรียนรู้อีกด้วย
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

175.50 บาท

195.00 บาท
195.00 บาท
ประหยัด 19.50 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
116 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 20.9 x 0.7 CM
น้ำหนัก
0.15 KG
บาร์โค้ด
9786167937045

รายละเอียด : เมนทอร์ MENTOR ต่อยอดประสบการณ์

เมนทอร์ MENTOR ต่อยอดประสบการณ์

ผมเขียนเรื่องเมนทอร์ (Mentor) เพื่อให้ต่อเนื่องกับอีก 2 เล่ม ที่เขียนไปก่อนหน้านี้ คือ “สอนใจด้วยใจ” (เป็นแนวโค้ช) และอีกเล่ม คือ “ฟา (Facilitator) : ทักษะสำหรับผู้บริหารยุคใหม่"  ทั้ง 3 เล่มนี้ ควรจะนำมาใช้ร่วมกัน เนื่องจากทักษะโค้ชเป็นพื้นฐาน จึงเขียนขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงเขียนเรื่อง “ฟา” ซึ่งเป็นชื่อที่ไม่ค่อยถนัดหูผู้คนนัก
หลายคนเรียกว่า “คุณอำนวย” แต่ “ฟา” ของผมเป็นมากกว่า “คุณอำนวย”เยอะเลย เพราะเป็นทั้งนักบ่มเพาะ ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ช่วยการประชุม ช่วยตั้งวงโสเหล่หรือสนทนาปลูกปัญญา (Dialogue) ช่วยผลักดันและเปิดเวทีให้ผู้เรียนได้มีทักษะใหม่ๆ พัฒนาทักษะเดิม ค้นพบตนเอง สอดแทรกธรรมะและจริยธรรมให้ผู้เรียน สร้างทักษะทางวิชาการและทักษะทางสังคม (Social skill) ด้วย ฯลฯ คนเป็นฟา ต้องมีทักษะโค้ช ในขณะที่คนเป็นเมนทอร์ ต้องมีทั้งทักษะฟาและโค้ชด้วย ไม่ใช่แค่มีประสบการณ์อย่างเดียวเท่านั้นเมนทอร์ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่มีมานานแล้ว ในต่างประเทศใช้เมนทอร์ในวงการต่างๆ ได้แก่ - ในวงการศาสนา ช่วยทั้งพระสงฆ์ นักบวช คนที่วัด ฯลฯ ช่วยเมนทอร์ลูกวัดและชุมชนให้ค้นพบตนเอง มีใจเมตตา ช่วยเหลือสังคมรักคนอื่นเหมือนรักตนเอง ฯลฯ - ในวงการพัฒนาสังคม เช่น ช่วยคนมีปัญหาครอบครัว ติดยา สุขภาพทางกาย ทางใจ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วย คนพิการ คนชรา ฯลฯ - ในวงการศึกษา เช่น ช่วยเด็กให้ค้นพบตนเอง ช่วยครูอาจารย์ให้ได้เทคนิคการเรียนรู้ที่ไม่ใช่เอาแต่ยัดเยียดสอน ช่วยสร้างทักษะทางสังคม การเข้าสังคม การมีเมตตา รักษ์สิ่งแวดล้อม เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี จริยธรรม คุณธรรม การเลือกคู่ครอง เลือกงาน ฯลฯ ในยุโรป ใช้เมนทอร์ 1 คน ต่อนักเรียน 5 คน เพื่อให้เด็กๆ ค้นหา ตนเอง แนะนำและเลือกอาชีพ รู้แบบอย่างที่ดี เรียนรู้วิธีเรียนรู้ เมนทอร์ให้ทำโครงการต่างๆ เพื่อฝึกการสร้างทีม เมนทอร์พาพวกเขาไปทำงานจิตอาสา ฯลฯ


คำนำ : เมนทอร์ MENTOR ต่อยอดประสบการณ์

ผมเขียนเรื่องเมนทอร์ (Mentor) เพื่อให้ต่อเนื่องกับอีก 2 เล่ม ที่เขียนไปก่อนหน้านี้ คือ “สอนใจด้วยใจ” (เป็นแนวโค้ช) และอีกเล่ม คือ “ฟา (Facilitator) : ทักษะสำหรับผู้บริหารยุคใหม่"  ทั้ง 3 เล่มนี้ ควรจะนำมาใช้ร่วมกัน เนื่องจากทักษะโค้ชเป็นพื้นฐาน จึงเขียนขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงเขียนเรื่อง “ฟา” ซึ่งเป็นชื่อที่ไม่ค่อยถนัดหูผู้คนนัก หลายคนเรียกว่า “คุณอำนวย” แต่ “ฟา” ของผมเป็นมากกว่า “คุณอำนวย”เยอะเลย เพราะเป็นทั้งนักบ่มเพาะ ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ช่วยการประชุม ช่วยตั้งวงโสเหล่หรือสนทนาปลูกปัญญา (Dialogue) ช่วยผลักดันและเปิดเวทีให้ผู้เรียนได้มีทักษะใหม่ๆ พัฒนาทักษะเดิม ค้นพบตนเอง สอดแทรกธรรมะและจริยธรรมให้ผู้เรียน สร้างทักษะทางวิชาการและทักษะทางสังคม (Social skill) ด้วย ฯลฯ ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลจักรวาล จงอำนวยพรให้ท่านผู้อ่านและผู้อุปการะคุณทุกท่าน ยิ่งมีความสุขความเจริญ ทั้งทางโลกและทางธรรม หวังสิ่งใดดีมีประโยชน์ไม่มีโทษ ก็ขอให้สำเร็จทุกประการ

สารบัญ : เมนทอร์ MENTOR ต่อยอดประสบการณ์

    • บทที่ 1 เมนทอร์ คืออะไร
    • บทที่ 2 เมนทอร์ ไม่ใช่ ครู
    • บทที่ 3 เปรียบเทียบ ครู กับ เมนทอร์
    • บทที่ 4 โค้ช แตกต่างกับ ครู และเมนทอร์ อย่างไร?
    • บทที่ 5 CFM คืออะไร
    • บทที่ 6 องค์กรที่มี และไม่มี CFM ต่างกันอย่างไร
    • บทที่ 7 คุณสมบัติของเมนทอร์
    • บทที่ 8 กิจกรรมของ เมนทอร์
    • บทที่ 9 วิธีคิดของโค้ช ฟา เมนทอร์ (CFM)
    • บทที่ 10 ข้อควรระวังในการเป็นโค้ช ฟา เมนทอร์ (CFM)
    • บทที่ 11 CFM ช่วยพัฒนาการเรียนรู้
    • บทที่ 12 เทคนิคง่ายๆ สไตล์โค้ช
    • บทที่ 13 เทคนิคของฟา
    • บทที่ 14 CFM กับ การอบรมผู้บริหาร
    • บทที่ 15 ประโยชน์ของ CFM
    • บทที่ 16 สรุป

เนื้อหาปกหลัง : เมนทอร์ MENTOR ต่อยอดประสบการณ์

"CFM คือ ในคนๆ เดียวกัน เราควรฝึกฝนตนเองให้เป็นทั้ง โค้ช ฟา และเมนทอร์ โค้ช เปิดศักยภาพให้เผู้เรียนรู้ ในขณะที่ ฟา สอนโดยไม่รู้ตัวว่าถูกสอน และ เมนทอร์ นอกจากจะเป็นทั้ง โค้ช และ ฟา แล้ว ยังต่อยอดประสบการณ์ให้ผู้เรียนรู้อีกด้วย"

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading