ในหลวง ร.7 กับ ปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2)

ผู้เขียน: คนแซ่ตั้ง

สำนักพิมพ์: สยามความรู้

หมวดหมู่: หนังสือพระราชนิพนธ์ , หนังสือพระราชประวัติราชวงศ์

5 (1) เขียนรีวิว

152.00 บาท

160.00 บาท ประหยัด 8.00 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

เหตุการณ์สำคัญครั้งในหลวงรัชกาลที่ 7 ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ชาวไทย และบทบาท แนวคิด อุดมการณ์ ปรีดี พนมยงค์ บุรุษผู้นำการเปลี่ยนแปลง < แสดงน้อยลง เหตุการณ์สำคัญครั้งในหลวงรัชกาลที่ 7 ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ชาวไทย และบทบาท แนวคิด อุดมการณ์ ปรีดี พนมยงค์ บุรุษผู้นำการเปลี่ยนแปลง

152.00 บาท

160.00 บาท
160.00 บาท
ประหยัด 8.00 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 6 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
208 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14 x 20.3 x 0.9 CM
น้ำหนัก
0.219 KG
บาร์โค้ด
9786165780230

รายละเอียด : ในหลวง ร.7 กับ ปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2)

ในหลวง ร.7 กับ ปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2)

ในรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้มีกระแสความคิดที่จะให้ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบการปกครอง ให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุข และมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเป็นสถาบันหลักที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้นเป็นลำดับ

จนกระทั่งได้มีคณะทหารกบฏ ร.ศ. 130 มีความคิดเห็นอยากให้กระแสดังกล่าวเป็นจริง แต่ยังไม่ทันลงมือก็ถูกจับได้เสียก่อน อย่างไรก็ตามเสียงเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ก็ยังออกมาเป็นระยะ ทั้งทางหน้าหนังสือพิมพ์ แต่ก็ยังไมีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง จนมาในสมัยรัชกาลที่ 7 พ.ศ. 2475 ถึงได้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น โดยอยู่ภายใต้การนำของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา

การเกิดการปฏิวัติในครั้งนั้น ได้ส่งผลกระทบในหลายๆ ด้านไม่ว่าจะเป็น ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม จึงถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย เป็นวันแห่งการปฏิวัติใหญ่ของประเทศไทยเลยทีเดียว

บรรณาธิการ


สารบัญ : ในหลวง ร.7 กับ ปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2)

    • ข้อความประวัติศาสตร์
    • การปกครองสมัยโบราณ
    • ปฏิวัติประเทศไทยปี 2475
    • สาเหตุของการปฏิวัติ
    • กำเนิดคณะราษฎร
    • วันลงมือปฏิวัติ
    • แถลงการณ์คณะราษฎร
    • คำประกาศคณะราษฎร
    • คณะราษฎรเสนอรัฐธรรมนูญ
    • รัฐธรรมนูญชั่วคราว
    • ฯลฯ

เนื้อหาปกหลัง : ในหลวง ร.7 กับ ปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2)

ส่วนหนึ่งของพระราชหัตถเลขาฉบับประวัติศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งได้ทรงสละราชสมบัติ ความว่า "ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใด โดยเฉพาะเพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาชน"

รีวิว


5.0
5 (1)
  • 5
    100 %
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%