ความมั่งคั่งของประชาชาติ เล่มที่ 4

ผู้เขียน: เอ็มแอนด์อี

สำนักพิมพ์: กฤตณัฐ ธรรมาภิบาลจิต

หมวดหมู่: บริหาร ธุรกิจ , การเงิน การลงทุน

0 รีวิว เขียนรีวิว

360.05 บาท

379.00 บาท ประหยัด 18.95 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 42 แต้ม

เศรษฐศาสตร์การเมือง เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งของนักการเมือง และผู้ออกกฎหมาย ซึ่งมีไว้เพื่อจุดประสงค์สองอย่าง ดังนี้ คือจุดประสงค์แรกเพื่อทำให้พลเมืองมีรายได้หรือมีสิ่งของยังชีพเพิ่มมากขึ้นหรือพูดอีกนัยหนึ่งคือทำให้พลเมืองสามารถหารายได้หรือสิ่งของยังชีพด้วยตนเอง < แสดงน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเมือง เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งของนักการเมือง และผู้ออกกฎหมาย ซึ่งมีไว้เพื่อจุดประสงค์สองอย่าง ดังนี้ คือจุดประสงค์แรกเพื่อทำให้พลเมืองมีรายได้หรือมีสิ่งของยังชีพเพิ่มมากขึ้นหรือพูดอีกนัยหนึ่งคือทำให้พลเมืองสามารถหารายได้หรือสิ่งของยังชีพด้วยตนเอง

360.05 บาท

379.00 บาท
379.00 บาท
ประหยัด 18.95 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 42 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
484 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 21 x 2.1 CM
น้ำหนัก
0.538 KG
บาร์โค้ด
9786164553132

รายละเอียด : ความมั่งคั่งของประชาชาติ เล่มที่ 4

ความมั่งคั่งของประชาชาติ เล่มที่ 4

เศรษฐศาสตร์การเมือง เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งของนักการเมือง และผู้ออกกฎหมาย ซึ่งมีไว้เพื่อจุดประสงค์สองอย่าง ดังนี้ คือ จุดประสงค์แรก เพื่อทำให้พลเมืองมีรายได้หรือมีสิ่งของยังชีพเพิ่มมากขึ้น หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทำให้พลเมืองสามารถหารายได้หรือสิ่งของยังชีพด้วยตนเองของเขาเองได้ และจุดประสงค์ที่สอง คือ เพื่อทำให้รัฐมีรายได้มากพอที่จะให้บริการแก่สาธารณะได้ กล่าวโดยสรุป  เศรษญกิจการเมือง เป็นศาสตร์ที่มีไว้เพื่อให้เพื่อทำให้ประชาชนและรัฐมีความมั่งคั่งมากยิ่งขึ้นนั่นเอง พัฒนาการของความก้าวหน้าไปสู่ความมั่งคั่งของทุกชาติในแต่ละยุคสมัยนั้น มันได้ก่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจการเมืองที่มุ่งหวังจะทำให้ประชาชนร่ำรวยขึ้นมา 2 ระบบ ซึ่งผมจะพยายามอธิบายถึงกลไกของทั้ง 2 ระบบนี้อย่างละเอียดและกระจ่างชัดที่สุดเท่าที่ผมจะทำได้ โดยจะเริ่มต้นจากระบบพิณิชย์นิยมก่อน ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันในยุคปัจจุบัน อีกทั้ง ยังเป็นระบบที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในประเทศของเราและในยุคของเราอีกด้วย


คำนำ : ความมั่งคั่งของประชาชาติ เล่มที่ 4

เศรษฐศาสตร์การเมือง เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งของนักการเมือง และผู้ออกกฎหมาย ซึ่งมีไว้เพื่อจุดประสงค์สองอย่าง ดังนี้ คือ จุดประสงค์แรก เพื่อทำให้พลเมืองมีรายได้หรือมีสิ่งของยังชีพเพิ่มมากขึ้น หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทำให้พลเมืองสามารถหารายได้หรือสิ่งของยังชีพด้วยตนเองของเขาเองได้ และจุดประสงค์ที่สอง คือ เพื่อทำให้รัฐมีรายได้มากพอที่จะให้บริการแก่สาธารณะได้ กล่าวโดยสรุป  เศรษญกิจการเมือง เป็นศาสตร์ที่มีไว้เพื่อให้เพื่อทำให้ประชาชนและรัฐมีความมั่งคั่งมากยิ่งขึ้นนั่นเอง พัฒนาการของความก้าวหน้าไปสู่ความมั่งคั่งของทุกชาติในแต่ละยุคสมัยนั้น มันได้ก่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจการเมืองที่มุ่งหวังจะทำให้ประชาชนร่ำรวยขึ้นมา 2 ระบบ โดยระบบแรกมักถูกเรียกว่า ระบบพาณิชย์นิยม และระบบที่สองมันถูกเรียกว่า ระบบเกษตรนิยม ซึ่งผมจะพยายามอธิบายถึงกลไกของทั้ง 2 ระบบนี้อย่างละเอียดและกระจ่างชัดที่สุดเท่าที่ผมจะทำได้ โดยจะเริ่มต้นจากระบบพิณิชย์นิยมก่อน ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันในยุคปัจจุบัน อีกทั้ง ยังเป็นระบบที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในประเทศของเราและในยุคของเราอีกด้วย

สารบัญ : ความมั่งคั่งของประชาชาติ เล่มที่ 4

    • บทที่ 1 หลักการของระบบพาณิชย์นิยม
    • บทที่ 2 การจำกัดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ
    • บทที่ 3 การจำกัดการนำเข้าสินค้าทุกชนิดจากประเทศที่เรากำลังเสียปรียบดุลการค้าให้กับเขาอยู่
    • บทที่ 4 การคืนภาษี
    • บทที่ 5 การอุดหนุนจากภาครัฐ
    • บทที่ 6 การทำสนธิสัญญาทางการค้า
    • บทที่ 7 อาณานิคม
    • บทที่ 8 บทสรุปของระบบพาณิชย์นิยม

เนื้อหาปกหลัง : ความมั่งคั่งของประชาชาติ เล่มที่ 4

เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า รายได้รายปีของทุกๆ สังคม มีค่าเท่ากับ มูลค่าในการแลกเปลี่ยนของผลผลิตรายปีทั้งหมดที่เกิดจากอุตสาหกรรมในสังคม ดังนั้น การที่ปัจเจกบุคคล นำทุนของเขาไปลงทุนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมในประเทศ แล้วบริหารจัดการอุตสาหกรรมดังกล่าวให้สามารถผลิตสินค้าออกมาได้มูลค่าที่สูงที่สุด จึงเปรียบเสมือนว่า เขากำลังพยายามที่จะสร้างรายได้รายปีให้แก่สังคมให้มากที่สุดเท่าที่พวกเขาจะทำได้ ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริงแล้ว พวกเขามิได้ตั้งใจจะสร้างประโยชน์อะไรให้แก่สังคมเลย และพวกเขาก็ไม่รู้ตัวด้วยซ้ำว่า สิ่งที่พวกเขาทำไป มันได้สร้างประโยชน์ให้แก่สังคมมากเพียงใด กล่าวคือ เหตุผลที่นำพาให้พวกเขาชื่นชอบที่จะลงทุนกับอุตสาหกรรมในประเทศมากกว่าอุตสาหกรรมต่างประเทศ ก็เพียงเพราะเขาต้องการที่จะดูแลทุนของเขาอย่างใกล้ชิดเพื่อความปลอดภัยในทุนของเขาเอง และเหตุผลที่นำพาให้พวกเขาบริหารจัดการอุตสาหกรรมดังกล่าวให้สามารถผลิตสินค้าออกมาได้มูลค่าสูงที่สุดนั้น ก็เพียงเพราะเขาต้องการที่จะรักษาผลประโยชน์ส่วนตนของเขาอีกเช่นกัน

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading