หลักการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้เขียน: ชื่นจิตร กองแก้ว

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , ปริญญาตรี

0 รีวิว เขียนรีวิว

204.00 บาท

240.00 บาท ประหยัด 36.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 แต้ม

มีประโยชน์สำหรับนิสิตนักศึกษาด้านวิทยาสุขภาพ บุคากรทางการแพทย์ หรือนักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ในการเรียนการสอน การวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยา พฤติกรรมสุขภาพ และการสื่อสารเชิงวิชาชีพ < แสดงน้อยลง มีประโยชน์สำหรับนิสิตนักศึกษาด้านวิทยาสุขภาพ บุคากรทางการแพทย์ หรือนักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ในการเรียนการสอน การวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยา พฤติกรรมสุขภาพ และการสื่อสารเชิงวิชาชีพ
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Top Up Mid-Month Sale! ลด 15%

204.00 บาท

240.00 บาท
240.00 บาท
ประหยัด 36.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
204 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
190 x 0 x 260 CM
น้ำหนัก
0 KG
บาร์โค้ด
9789740336990

รายละเอียด : หลักการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพ

ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญในการปฏิบัติงานทางการแพทย์ เภสัชศาสตร์และสังคม ตำราเล่มนี้ นำเสนอเรื่องราวความไม่ร่วมมือของผู้ป่วยในการรักษาด้วยยา ซึ่งเป็นปัญหาทางเภสัชระบาดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ผู้เขียนได้วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการรักษาด้วยยา จากฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ถ่ายทอดประสบการณ์จากากรทำงานวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยาภาคสนาม การวิจัยเชิงคุณภาพ รวมทั้งบูรณาการมุมมองและประสบการณ์ของผู้ป่วย โดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้ป่วยรายบุคคลออกมาในการเขียนตำราเล่มนี้ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางระบาดวิทยาในการทำความเข้าใจพฤติกรรมความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วย


คำนำ : หลักการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพ

ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญในการปฏิบัติงานทางการแพทย์ เภสัชศาสตร์และสังคม ตำราเล่มนี้ นำเสนอเรื่องราวความไม่ร่วมมือของผู้ป่วยในการรักษาด้วยยา ซึ่งเป็นปัญหาทางเภสัชระบาดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ผู้เขียนได้วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการรักษาด้วยยา จากฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ถ่ายทอดประสบการณ์จากากรทำงานวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยาภาคสนาม การวิจัยเชิงคุณภาพ รวมทั้งบูรณาการมุมมองและประสบการณ์ของผู้ป่วย โดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้ป่วยรายบุคคลออกมาในการเขียนตำราเล่มนี้ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางระบาดวิทยาในการทำความเข้าใจพฤติกรรมความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วย ตำราเล่มนี้จึงมีประโยชน์สำหรับนิสิตนักศึกษาด้านวิทยาสุขภาพ บุคากรทางการแพทย์ หรือนักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ในการเรียนการสอน การวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยา พฤติกรรมสุขภาพ และการสื่อสารเชิงวิชาชีพ อนึ่งความเข้าใจเกี่ยวกับความร่วมมือในการรักษาด้วยยา จะช่วยส่งเสริมความสำเร็จในการรักษาโรคบนพื้นฐานการดูแลผู้ป่วยด้วยความใส่ใจ สอดคล้องกับหลัมนุษยธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคม

ชื่นจิตร กองแก้ว


สารบัญ : หลักการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพ

    • กิตติกรรมประกาศ
    • คำนิยม
    • คำนำ
    • บทที่ 1 คำศัพท์เกี่ยวกับพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา
    • บทที่ 2 เภสัชระบาดของความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยา
    • บทที่ 3 ผลกระทบของความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยา
    • บทที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยา
    • บทที่ 5 เจาะลึก ทำไมผู้ป่วยหยุดใช้ยา
    • บทที่ 6 การส่งเสริมความร่วมมือของผู้ป่วยในการรักษาด้วยยา
    • บทที่ 7 งานวิจัยเกี่ยวกับกลวิธีส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา
    • บทที่ 8 ภาพอนาคตของการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา

เนื้อหาปกหลัง : หลักการส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพ

ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญในการปฏิบัติงานทางการแพทย์ เภสัชศาสตร์ และสังคม ตำราเล่มนี้นำเสนอเรื่องราวความไม่ร่วมมือของผู้ป่วยในการรักษาด้วยยา ซึ่งเป็นปัญหาทางเภสัช ระบาดวิทยาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ผู้เขียนได้วิเคราะห์วรรณกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการรักษาด้วยยาจากฐานข้อมูลวารสารที่นาเชื่อถือ ถ่ายทอดประสบการณ์จาการทำงานวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยาภาคสนาม การวิจัยเชิงคุณภาพ รวมทั้งบูรณาการมุมมองและประสบการณ์ของผู้ป่วย โดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้ป่วยรายบุคคลออกมาในการเขียนตำราเล่มนี้ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางระบาดวิทยาในการทำความเข้าใจพฤติกรรมความไม่ร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วย สำหรับมใช้ในการเรียนการสอน การวิจัยด้านเภสัชระบาดวิทยา พฤติกรรมสุขภาพและการสื่อสารเชิงวิชาชีพ เหมาะสำหรับนิสิตนักศึกษาด้านวิทยาสุขภาพ บุคลากรทางการแพทย์ หรือนักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading