ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

ผู้เขียน: วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: คอมพิวเตอร์ , Windows Office

0 (0) เขียนรีวิว

351.00 บาท

390.00 บาท ประหยัด 39.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 14 คะแนน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ (Human Computer Interaction : HCI) ถือได้ว่าเป็นศาสตร์ที่มีีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่ยังไม่มีคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นด้วยซ้ำ < แสดงน้อยลง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ (Human Computer Interaction : HCI) ถือได้ว่าเป็นศาสตร์ที่มีีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่ยังไม่มีคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นด้วยซ้ำ
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com September Peak Sale หนังสือลดเลย 10%

Tags: คอมพิวเตอร์ , ตำราคอมพิวเตอร์ , ปฏิสัมพันธ์คอมพิวเตอร์กับมนุษย์

351.00 บาท

390.00 บาท
390.00 บาท
ประหยัด 39.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 14 คะแนน

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
0 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
26 x 19 x 1.6 CM
น้ำหนัก
0.63 KG
บาร์โค้ด
9789740335160

รายละเอียด : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

ตำราปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งที่ 6 เพื่อใช้ในการสอนวิชา SP206 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ให้กับนักศึกษาชั้นปีีที่ 2 ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เนื้อหาภายในประกอบไปด้วย

  1. บทนำเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์
  2. บทบาทของปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์
  3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์และศาสตร์อื่น ๆ
  4. เป้าหมายของปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์
  5. ตัวอย่างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างตอมพิวเตอร์กับมนุษย์
  6. บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

 

 


คำนำ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

ตำราปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งที่ 6 เพื่อใช้ในการสอนวิชา SP206 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ให้กับนักศึกษาชั้นปีีที่ 2 ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ตำราเล่มนี้ได้รับการปรับปรุงเนื้อหาในบทที่ 3 ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ และบทที่ 4 ส่วนต่อประสานและอุปกรณ์เสริม ให้ความสมบูรณ์และมีเนื้อหาที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพิ่มเติมเนื้อหางานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาของแต่ละบท ซึ่งผู้จัดทำได้ค้นคว้าจากงานวิจัยที่เผยแพร่เป็นบทความวิจัยทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อีกทั้งยังแก้ไขข้อผิดพลาดและเพิ่มเติมเนื้อหาที่ทันสมัยจากการพิมพ์ครั้งที่ 5 เพื่อให้ตำรามีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ได้รับการปรับแก้ไขตามคำแนะนำผู้เชี่ยวชาญของสำนักพิมพ์แห่งจุฬ่าลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้จัดทำได้ตรวจสอบศัพท์บัญญัติจากเว็บไซต์ของสำนักงานราชบัณฑิตสภา1เพื่อความถูกต้องเพิ่มเติมด้วย

สำหรับการปรับปรุงเนื้อหาครั้งนี้ ผู้จัดทำขอขอบคุณอาจารย์ประจำวิชาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ทุกท่านที่กรุณาให้คำแนะนำที่ได้นำตำราเล่มที่พิมพ์ครั้งที่ 4 ไปใช้เพื่อประกอบการเรียนการสอนในวิชา SP 206 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ ให้กับนักศึกษาในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิืวเตอร์ชั้นปีที่ 2 ในปีการศึกษา 2556 และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชนืมากมายเพื่อมาปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหาให้สมบูรณ์

ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ดร.วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ

ผู้จัดทำ

กรกฎาคม 2559


สารบัญ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

    • ความสำคัญของปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์
    • กระบวนการรับรู้ข้อมูล การใช้เหตุผล และการแก้ปัญหาของมนุษย์ในบริบทหารปฏิสัมพันธ์
    • ประวัตความเป็นมาของเครื่องคำนวณและคอมพิวเตอร์
    • ส่วนต่อประสานและอุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์
    • กระบวนทัศน์ของการปฏิสัมพันธ์
    • ความสามารถในการสร้างปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์
    • พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์
    • การออกแบบส่วนต่อประสานและการแสดงผลบนหน้าจอ
    • ความเชื่อมโยงของการปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
    • กฎของการออกแบบ

เนื้อหาปกหลัง : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ (Human Computer Interaction : HCI) ถือได้ว่าเป็นศาสตร์ที่มีีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่ยังไม่มีคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นด้วยซ้ำ เริ่มขึ้นตั้วแต่มีการพัฒนาเครื่องจักรต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เครื่องจักรทำงานแทนมนุษย์หรือช่วยให้มนุษย์ทำงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น ภายหลังนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยเริ่มให้ความสนใจกับศาสตร์นี้มากขึ้น และเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์อย่างจริงจัง โดยเริ่มจากการที่นักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจกับกายวิภาคของเครื่องจักรต่าง ๆ ว่ามีผลกระทบต่อการทำงานของมนุษย์มากน้อยเพียงใด และแก้ไขให้สามารถเพิ่มจำนวนการผลิตได้อย่างไร ศาสตร์นี้มีการให้ความสนใจมากขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบัน อุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลที่มนุษย์ใช้งานมากที่สุดในปัจจุบันคือคอมพิวเตอร์ ศาสตร์นี้จึงจุดประสงค์หลักเพื่อสร้างความสะดวกสบายให้ผู้ใช้ เวลาที่ใช้งานเครื่องจักรหรือ คอมพิวเตอร์ สิ่งได้จากการศึกษาและพัฒนาปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์คือ ระบบคอมพิวเตอร์/ระบบเครื่องจักร หรือแม้แต่อุปกรณ์ในชีวิตประจำวัน ที่ใช้งานได้ง่ายใช้ได้ทุกเพศทุกวัย ใช้แล้วมีความสบายกายและสบายใจ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ระบบที่ใช้งานได้เท่านั้น

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%