รัฐศาสตร์สาร ปี 37 ฉบับที่3 (กันยายน-ธันวาคม 2559)

ผู้เขียน: คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

สำนักพิมพ์: ม.ธรรมศาสตร์

หมวดหมู่: หนังสือเตรียมสอบ แนวข้อสอบ , ปริญญาตรี

0 รีวิว เขียนรีวิว

180.00 บาท

200.00 บาท ประหยัด 20.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงของความคิดว่าด้วยความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่ในสังคมไทย < แสดงน้อยลง พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงของความคิดว่าด้วยความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่ในสังคมไทย
  • ส่วนลด:
    ลด 10%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com World Book Day ลด 10%*

Tags: การเมืองไทย , รัฐศาสตร์ไทย , การเมืองการปกครอง

180.00 บาท

200.00 บาท
200.00 บาท
ประหยัด 20.00 บาท (10.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 7 แต้ม

จำนวน :

1

  • โปรโมชั่นพิเศษ:
    • Naiin.com World Book Day ช้อปครบ 3 เล่ม ลด 15%*
จำนวนหน้า
266 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 20.9 x 1.5 CM
น้ำหนัก
0.365 KG
บาร์โค้ด
9770125135512

รายละเอียด : รัฐศาสตร์สาร ปี 37 ฉบับที่3 (กันยายน-ธันวาคม 2559)

รัฐศาสตร์สาร ปี 37 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2559)

รัฐศาสตร์สาร เป็นวารสารทางวิชาการ มีวัตถุประสงค์เผยแพร่ความรู้และความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ในทางวิชาการในแขนงวิชารัฐศาสตร์ ตลอดจนสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องส่งเสริมให้อาจารย์และนักวิชาการให้เสนอผลงานทางวิชาการ และเพื่อให้เป็นเอกสารประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทัศนะและข้อคิดเห็นในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบแต่อย่างใดของคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


สารบัญ : รัฐศาสตร์สาร ปี 37 ฉบับที่3 (กันยายน-ธันวาคม 2559)

    • วารสารรัฐศาสตร์สังคมไทยกับความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่
    • ปาตานีศึกษา ความรู้วิทยาศาสตร์อิสลามในโลกมลายูปาตานี
    • หน้าที่ทางการเมืองของงานเขียนพัฒนาการ
    • มานุษวิทยาจักรวรรดิ การสร้างหมู่บ้านชนบทไทย


รีวิวโดยสำนักพิมพ์ : รัฐศาสตร์สาร ปี 37 ฉบับที่3 (กันยายน-ธันวาคม 2559)

อะไรคือสภาวะสมัยใหม่หรือModernity ของดินแดนแอตแลนติคเหนือดูจะเป็นคำถามสำคัญของนักวิชาการมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ตลอดศตวรรษที่ยี่สิบ สำหรับดินแดนนอกอาณาเขตแอตแลนติคเหนือก็ยังสร้างปัญหาในการทำความเข้าใจ Modernity ไม่แตกต่างกัน การแบ่งยุคสมัยเป็นเงื่อนไขสำคัญของความเป็น Modernity การแบ่งแยกทั้งพื้นที่และเวลาก็เป็นสิ่งสำคัญแต่ Modernity เองกลับกลายเป็นคำที่ครอบคลุมยากที่จะแบ่งแยก เพราะอะไรๆ ก็สามารถที่จะเข้ามาภายในร่มของคำคำนี้ แม้กระทั่งคำว่าทุนนิยมก็ยังสามารถที่จะใช้สลับกันไปมาเพื่อบรรยายถึงลักษณะของสังคมร่วมสมัย (contemporary society) หรือสังคมสมัยใหม่ แม้ว่ารากฐานของประวัติความเป็นมาของคำทั้งสองจะดำเนินกันมาคนละเส้นทาง

ธเนศ วงศ์ยานนาวา บรรณาธิการ

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading