ตำนานเมืองพม่า

ผู้เขียน: กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สำนักพิมพ์: โนเบิ้ลบุ๊คส์

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , ประวัติศาสตร์

0 รีวิว เขียนรีวิว

209.00 บาท

220.00 บาท ประหยัด 11.00 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 24 แต้ม

เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของประเทศพม่า ที่นอกเหนือจากตำนานแล้วยังมีเรื่องโบราณและการเมือง โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศพม่ายังอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ อันเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ได้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น < แสดงน้อยลง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของประเทศพม่า ที่นอกเหนือจากตำนานแล้วยังมีเรื่องโบราณและการเมือง โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศพม่ายังอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ อันเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ได้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น

209.00 บาท

220.00 บาท
220.00 บาท
ประหยัด 11.00 บาท (5.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 24 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
268 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.5 x 20.9 x 1.5 CM
น้ำหนัก
0.286 KG
บาร์โค้ด
9786163882066

รายละเอียด : ตำนานเมืองพม่า

ตำนานเมืองพม่า

เป็นการตัดต่อและเรียบเรียงขึ้นใหม่จากพระนิพนธ์ "เที่ยวเมืองพม่า" พร้อมกับการบรรยายภาพฝีพระหัตถ์ โดยบรรณาธิการเล่มได้ทำทั้งเชิงอรรถและขยายข้อมูลเพิ่มเติมในวงเล็บเป็นตัวเอน เพื่อต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น อีกทั้งเพื่อเป็นการต่อยอดทางวิชาการในการค้นคว้าต่อไป สำนักพิมพ์โนเบิ้ลบุ๊คส์หวังใจว่า "ตำนานเมืองพม่า" จะเป็นหนังสือที่ผู้อ่านจะได้รับสารัตถประโยชน์ได้เป็นอย่างดีอีกเล่มหนึ่งในตู้หนังสือของท่าน


สารบัญ : ตำนานเมืองพม่า

    • ตำนานเมืองพม่า
    • ตำนานเมืองร่างกุ้ง
    • ตำนานเมืองหงสาวดี
    • ตำนานเมืองพุกาม
    • ตำนานเมืองแปรและเมืองสารเขตร์
    • ตำนานเมืองชัยปุระ (เมืองสะแกง) เมืองรัตนปุระ (เมืองอังวะ) เมืองอมรปุระ
    • ตำนานการสร้างเมืองมัณฑเลย์
    • ภาพถ่ายฝีะระหัตถ์ เมืองร่างกุ้ง มัณฑะเลย์ (Mandalay) - พุกาม (Bagan) แปร (Prome)

     


เนื้อหาปกหลัง : ตำนานเมืองพม่า

เมียนมาร์ (Myanmar) ประเทศเพื่อนบ้านที่กำลังได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวชายไทย เพราะนอกจากชื่อเสียงความงดงามของโบราณสถานต่างๆ โดยเฉพาะพุกาม เมืองแห่งพันเจดีย์ พระธาตุเจดีย์อินทร์แขวนที่วางเหมาะเจาะบนหน้าผาดุจเทวดาบรรจงวางไว้แล้ว ยังมีประวัติศาสตร์อันยาวนานที่ผูกพันสองประเทศนี้ไว้ด้วยกัน "ตำนานเมืองพม่า" คือเรื่องราวในตำนานเมืองต่างๆ ของประเทศพม่า อาทิ เมืองร่างกุ้ง เมืองพุกาม เมืองแปร เมืองมัณฑะเลย์ เมืองชัยปุระ เมืองอมรปุระ และเมืองสะแกง เป็นต้น ซึ่งเรื่องราวต่างๆ นี้ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้เสร็จไปเมื่อ ปี พ.ศ.2478 ซึ่งนอกเหนือจากทรงบันทึกเรื่องราวแล้วยังทรงถ่ายภาพผีพระหัตถ์ ดุจดังนักสารคดีพระองค์ท่าน ซึ่งเราจะได้เรียนรู้และเข้าใจเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของประเทศพม่า ที่นอกเหนือจากตำนานแล้วยังมีเรื่องโบราณและการเมือง โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศพม่ายังอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ อันเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ได้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น

รีวิวโดยผู้เขียน : ตำนานเมืองพม่า

บทพระนิพนธ์เรื่องตำนานเมืองพม่าและภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้เสด็จไปประเทศพม่า เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ พระองค์ได้ทรงพระนิพนธ์เพื่อฉายให้เห็นภาพประเทศพม่าในอดีต ซึ่งน่าจะเป็นช่วงเวลาของการเสื่อมโทรม โบราณสถานต่างๆ ขาดการทำนุบำรุง แต่ถึงกระนั้น จากเรื่องราวและภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ เราก็ยังได้เห็นภาพของพระราชวังมัณฑะเลย์ในสภาพที่ยังไม่ถูกระเบิดในสงครามโลกครั้งที่ ๒ แม้จะชำรุดทรุดโทรมไปบ้าง จากฝีมือของทหารอังกฤษ ความงดงามก็ยังพอมองเห็นได้ ในช่วงนั้น ประเทศพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอังกฤษโดยสมบูรณ์ หลังจากที่มีการแบ่งเป็นพม่าใต้ อยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ และพม่าเหนือยังคงปกครองโดยระบอบกษัตริย์มาพักใหญ่ จนในที่สุด อังกฤษยึดได้พม่าเหนือ โดยอังกฤษกำหนดให้เป็นจังหวัดหนึ่งของบริติชอินเดีย (British India) อยู่ภายใต้การปกครองของข้าหลวงใหญ่ที่ประเทศอินเดีย ใน ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ อังกฤษจึงได้แยกจังหวัดพม่าออกจากบริติชอินเดีย มีสภาผู้แทนราษฎรของตนเอง และชาวพม่าได้มีการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของตนเองมาตลอด จนได้เอกราช ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ขบวนเสด็จออกจากปีนังที่ประทับ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นการเสด็จทางเรือเมล์ไปขึ้นที่เมืองร่างกุ้ง การเสด็จครั้งนี้ แม้เป็นการเสด็จส่วนพระองค์และไม่ได้ประทับอยู่เมืองไทยแล้ว แต่ราชทูตอังกฤษ เมื่อได้ทราบว่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจะเสด็จเยือนพม่าเพื่อทอดพระเนตรโบราณวัตถุสถานต่างๆ ก็ได้จัดการสั่งการให้ทางรัฐบาลพม่าเตรียมการต่างๆไว้ถวายความสะดวก พระองค์ได้ทรงมีโอกาสทอดพระเนตรสิ่งที่ทรงอยากเห็นและได้ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ทั้งในเรื่องโบราณคดีและการเมือง ขบวนเสด็จออกจากปีนังที่ประทับ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นการเสด็จทางเรือเมล์ไปขึ้นที่เมืองร่างกุ้ง (Rangoon) การเสด็จครั้งนี้ แม้เป็นการเสด็จส่วนพระองค์และไม่ได้ประทับอยู่เมืองไทยแล้ว แต่ราชทูตอังกฤษที่ประเทศอังกฤษ เมื่อได้ทราบว่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจะเสด็จเยือนพม่าเพื่อทอดพระเนตรโบราณวัตถุสถานต่างๆ ก็ได้จัดการสั่งการให้ทางรัฐบาลพม่าเตรียมการต่างๆ ไว้ถวายความสะดวก ถึงแม้จังหวะที่เสด็จไปถึงพม่านั้น พระเจ้าจอร์จที่ 5 (George Frederick Ernest Albert) กษัตริย์อังกฤษสวรรคต ปี พ.ศ. 2479 อยู่ในช่วงเวลาที่ข้าราชการอังกฤษไว้ทุกข์ แต่ทางรัฐบาลก็ได้จัดการรับเสด็จได้อย่างเรียบร้อยดี ได้ทรงมีโอกาสทอดพระเนตรสิ่งที่ทรงอยากเห็นและได้ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ทั้งในเรื่องโบราณคดีและการเมือง ซึ่งได้ทรงนำมาถ่ายทอดไว้ในพระนิพนธ์ "เที่ยวเมืองพม่า" เพียงแต่ขาดภาพที่ประกอบเพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น เมื่อทางหอสมุดดำรงราชานุภาพมีโอกาสได้นำภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ และภาพที่ทางรัฐบาลพม่าถวายมาทำเป็นดิจิทัลจึงถือโอกาสนำภาพถ่ายเหล่านี้ ตัดตอนพระนิพนธ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาบรรยาประกอบ รวมทั้งแยกตำนานรายละเอียดในเรื่องต่างๆ ออกมาต่างหาก เพื่อผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องของประเทศนี้ได้มีโอกาสย้อนกลับไปดูเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงที่พม่ายังอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ อันเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของประวัติศสตร์ ภาพเหล่านี้และภาพประวัติศาสตร์อื่นๆ อีกกว่า 20,000 ภาพท่านสามารถสืบค้นได้ที่หอสมุดดำรงราชานุภาพ ถนนหลานหลวงและเว็บไซต์

ม.ร.ว รมณียฉัตร ดิศกุล



รีวิวโดยสำนักพิมพ์ : ตำนานเมืองพม่า

บทพระนิพนธ์เรื่องตำนานเมืองพม่าและภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้เสด็จไปประเทศพม่า เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ พระองค์ได้ทรงพระนิพนธ์เพื่อฉายให้เห็นภาพประเทศพม่าในอดีต ซึ่งน่าจะเป็นช่วงเวลาของการเสื่อมโทรม โบราณสถานต่างๆ ขาดการทำนุบำรุง แต่ถึงกระนั้น จากเรื่องราวและภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ เราก็ยังได้เห็นภาพของพระราชวังมัณฑะเลย์ในสภาพที่ยังไม่ถูกระเบิดในสงครามโลกครั้งที่ ๒ แม้จะชำรุดทรุดโทรมไปบ้าง จากฝีมือของทหารอังกฤษ ความงดงามก็ยังพอมองเห็นได้ ในช่วงนั้น ประเทศพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอังกฤษโดยสมบูรณ์ หลังจากที่มีการแบ่งเป็นพม่าใต้ อยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ และพม่าเหนือยังคงปกครองโดยระบอบกษัตริย์มาพักใหญ่ จนในที่สุด อังกฤษยึดได้พม่าเหนือ โดยอังกฤษกำหนดให้เป็นจังหวัดหนึ่งของบริติชอินเดีย (British India) อยู่ภายใต้การปกครองของข้าหลวงใหญ่ที่ประเทศอินเดีย ใน ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ อังกฤษจึงได้แยกจังหวัดพม่าออกจากบริติชอินเดีย มีสภาผู้แทนราษฎรของตนเอง และชาวพม่าได้มีการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของตนเองมาตลอด จนได้เอกราช ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ขบวนเสด็จออกจากปีนังที่ประทับ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นการเสด็จทางเรือเมล์ไปขึ้นที่เมืองร่างกุ้ง การเสด็จครั้งนี้ แม้เป็นการเสด็จส่วนพระองค์และไม่ได้ประทับอยู่เมืองไทยแล้ว แต่ราชทูตอังกฤษ เมื่อได้ทราบว่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจะเสด็จเยือนพม่าเพื่อทอดพระเนตรโบราณวัตถุสถานต่างๆ ก็ได้จัดการสั่งการให้ทางรัฐบาลพม่าเตรียมการต่างๆไว้ถวายความสะดวก พระองค์ได้ทรงมีโอกาสทอดพระเนตรสิ่งที่ทรงอยากเห็นและได้ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ทั้งในเรื่องโบราณคดีและการเมือง ขบวนเสด็จออกจากปีนังที่ประทับ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นการเสด็จทางเรือเมล์ไปขึ้นที่เมืองร่างกุ้ง (Rangoon) การเสด็จครั้งนี้ แม้เป็นการเสด็จส่วนพระองค์และไม่ได้ประทับอยู่เมืองไทยแล้ว แต่ราชทูตอังกฤษที่ประเทศอังกฤษ เมื่อได้ทราบว่า สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจะเสด็จเยือนพม่าเพื่อทอดพระเนตรโบราณวัตถุสถานต่างๆ ก็ได้จัดการสั่งการให้ทางรัฐบาลพม่าเตรียมการต่างๆ ไว้ถวายความสะดวก ถึงแม้จังหวะที่เสด็จไปถึงพม่านั้น พระเจ้าจอร์จที่ 5 (George Frederick Ernest Albert) กษัตริย์อังกฤษสวรรคต ปี พ.ศ. 2479 อยู่ในช่วงเวลาที่ข้าราชการอังกฤษไว้ทุกข์ แต่ทางรัฐบาลก็ได้จัดการรับเสด็จได้อย่างเรียบร้อยดี ได้ทรงมีโอกาสทอดพระเนตรสิ่งที่ทรงอยากเห็นและได้ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ทั้งในเรื่องโบราณคดีและการเมือง ซึ่งได้ทรงนำมาถ่ายทอดไว้ในพระนิพนธ์ "เที่ยวเมืองพม่า" เพียงแต่ขาดภาพที่ประกอบเพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น เมื่อทางหอสมุดดำรงราชานุภาพมีโอกาสได้นำภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ และภาพที่ทางรัฐบาลพม่าถวายมาทำเป็นดิจิทัลจึงถือโอกาสนำภาพถ่ายเหล่านี้ ตัดตอนพระนิพนธ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาบรรยาประกอบ รวมทั้งแยกตำนานรายละเอียดในเรื่องต่างๆ ออกมาต่างหาก เพื่อผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องของประเทศนี้ได้มีโอกาสย้อนกลับไปดูเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงที่พม่ายังอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ อันเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของประวัติศสตร์ ภาพเหล่านี้และภาพประวัติศาสตร์อื่นๆ อีกกว่า 20,000 ภาพท่านสามารถสืบค้นได้ที่หอสมุดดำรงราชานุภาพ ถนนหลานหลวงและเว็บไซต์

เมียนมาร์ ประเทศเพื่อนบ้านที่กำลังได้รับความยินมจากนักท่องเที่ยวชาวไทย เพราะนอกจากชื่อเสียงความงดงามของโบราณสถานต่างๆ โดยเฉพาะพุกาม เมืองแห่งพันเจดีย์ พระธาตุอินทร์แขวนที่วางเหมาะเจาะบนหน้าผาดุจเทวดาบรรจงวางไว้แล้ว ยังมีประวัติศาสตร์อันยาวนานที่ผูกหันสองประเทศนี้ไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผุ้ที่เคยท่องเที่ยวหรือกำลังคิดจะไปท่องเที่ยวในประเทศเมียนมาร์ได้ความรู้เพิ่มเติม จึงได้นำภาพฝีพระหัตถ์ของสมเด็ดพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้เสร็จไปประเทศนี้นี้เมื่อ ปี พ.ศ2478 ซึ่งขณะนี้รู้จักกันในนามประเทศพม่า มาตีพิมพ์เผยแพร่ประกอบพระนิพนธ์อธิบายภาพและตำนานต่างๆ ที่ตัดตอนมาจากพระนิพนธ์ "เที่ยวเมืองพม่า" ทั้งนี้ เพื่อฉายให้เห็นภาพประเทศพม่าในอดีต ซึ่งน่าจะเป็นช่วงเวลาของการเสื่อมโทรม โบราณสถานต่างๆ ขาดการบำรุ่ง แต่ถึงกระนั้น จากภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ เราก็ยังได้เห็นภาพของพระราชวังมัณฑเลย์ในสภาพที่ยังไม่ถูกระเบิด ในสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะชำรุดทรุดโทรมไปบ้าง จากฝีมือของทหารอังกฤษ และพม่าเหนือยังคงปกครองโดยระบอบกษัตริย์มากพักใหญ่ จนในที่สุด อังกฤษยึดได้พม่าเหนือ โดยอังกฤษกำหนดให้เป็นจังหวัดหนึ่งของบริติชอินเดีย (British India) อยู่ภายใต้การปกครองของข้าหลวงใหญ่ที่ประเทศอินเดียว ในปี พ.ศ.2480 อังกฤษจึงได้แยกจังหวัดพม่าออกจากบริติชอินเดีย มีสภาผู้แทนราษฎรของตนเอง และชาวพม่าได้มีการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของตนเองมาตลอด จนได้เอกราช เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491


 

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading