s

เศรษฐศาสตร์การจัดการ

ผู้เขียน: ณักษ์ กุลิสร์

สำนักพิมพ์: ศูนย์หนังสือจุฬา/chula

หมวดหมู่: บริหาร ธุรกิจ , การบริหารธุรกิจ

0 รีวิว เขียนรีวิว

263.50 บาท

310.00 บาท ประหยัด 46.50 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 แต้ม

วิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ เป็นวิชาที่นำทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการตัดดสินใจการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการขององค์กร < แสดงน้อยลง วิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ เป็นวิชาที่นำทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการตัดดสินใจการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการขององค์กร
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Top Up Mid-Month Sale! ลด 15%

263.50 บาท

310.00 บาท
310.00 บาท
ประหยัด 46.50 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 10 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
395 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
0 x 0 x 0 CM
น้ำหนัก
0 KG
บาร์โค้ด
9789740329671

รายละเอียด : เศรษฐศาสตร์การจัดการ

เศรษฐศาสตร์การจัดการ

เศรษฐศาสตร์การจัดการเล่มนี้ ได้นำทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการขององค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างเหมาะสม และสามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเนื่องจากวัตถุประสงค์โดยทั่วไปขององค์กรธุรกิจคือ การแสวงหากำไรสูงสุด ดังนั้น สาระสำคัญในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วยการหาค่าสูงสุดและต่ำสุด เพื่อหากำไรสูงสุด ต้นทุนต่ำสุด และผลผลิตสูงสุด


คำนำ : เศรษฐศาสตร์การจัดการ

วิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ เป็นวิชาที่นำทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการตัดดสินใจการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการขององค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างเหมาะสม และสามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเนื่องจากวัตถุประสงค์โดยทั่วไปขององค์กรธุรกิจคือ การแสวงหากำไรสูงสุด ดังนั้น สาระสำคัญในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วยการหาค่าสูงสุดและต่ำสุด เพื่อหากำไรสูงสุด ต้นทุนต่ำสุด และผลผลิตสูงสุด ตลอดจนลักษณะของการผลิตซึ่งมีผลที่เกี่ยวเนื่องกับต้นทุน โดยต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จะแตกต่างกับต้นทุนทางธุรกิจหรือต้นทุนทางบัญชีหลังจากการศึกษาเกี่ยวกับการผลิต ต้นทุน และกำไรแล้ว เราก็จะศึกษาถึงโครงสร้างตลาด ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 2.ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ เราทราบว่าตลาดผู้ขายน้อยรายได้มีความสำคัญขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเป็นโครงการตลาดสำหรับสินค้าอุปโภคบริโภค เนื่องจากในปััจจุบันเงินลงทุนมีอยู่อย่างจำกัด จึงจำเป็นต้องมีการประเมินโครงการต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนสูงสุด

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสืือเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจในหลักวิชาเศรษฐศาสตร์หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรีในระดับสูงและปริญญาโท เนื่องจากจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านทฤษฎี กราฟ และสถิติพื้นฐาน ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในเชิงธุรกิจ

                                                                                                                      รองศาสตราจารย์ ดร.ณักษ์  กุลิสร์
                                                                                                                         มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
                                                                                                                                 กุมภาพันธ์ 2555


สารบัญ : เศรษฐศาสตร์การจัดการ

    • บทนำ : ลักษณะและขอบเขตของเศรษฐศาสตร์การจัดการ
    • เทคนิคการหาค่าสูงสุดและเครื่องมือทางด้านการจัดการแบบใหม่
    • ทฤษฎีอุปสงค์
    • การประมาณอุปสงค์
    • การผลิตและการประมาณการ
    • ทฤษฎีต้นทุน
    • โครงสร้างตลาด
    • ตลาดผู้ขายน้อยรายและพฤติกรรมเชิงกลยุทธ์
    • การกำหนดราคาสินค้าในทางปฏิบัติ
    • การวิเคราะห์ความเสี่ยง
    • การตัดสินใจลงทุนในระยะยาว : งบประมาณการลงทุน
    • การพยากรณ์ทางธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
    • บรรณานุกรม

เนื้อหาปกหลัง : เศรษฐศาสตร์การจัดการ

วิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ เป็นวิชาที่นำทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการตัดดสินใจการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการขององค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างเหมาะสม และสามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเนื่องจากวัตถุประสงค์โดยทั่วไปขององค์กรธุรกิจคือ การแสวงหากำไรสูงสุด ดังนั้น สาระสำคัญในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วยการหาค่าสูงสุดและต่ำสุด เพื่อหากำไรสูงสุด ต้นทุนต่ำสุด และผลผลิตสูงสุด ตลอดจนลักษณะของการผลิตซึ่งมีผลที่เกี่ยวเนื่องกับต้นทุน โดยต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จะแตกต่างกับต้นทุนทางธุรกิจหรือต้นทุนทางบัญชีหลังจากการศึกษาเกี่ยวกับการผลิต ต้นทุน และกำไรแล้ว เราก็จะศึกษาถึงโครงสร้างตลาด ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 2.ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ เราทราบว่าตลาดผู้ขายน้อยรายได้มีความสำคัญขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเป็นโครงการตลาดสำหรับสินค้าอุปโภคบริโภค เนื่องจากในปััจจุบันเงินลงทุนมีอยู่อย่างจำกัด จึงจำเป็นต้องมีการประเมินโครงการต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนสูงสุด

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading