s

จริยเศรษฐศาสตร์ : On Ethics and Economics

ผู้เขียน: Amartya Sen (อมารตยา เซน)

สำนักพิมพ์: Salt Publishing

หมวดหมู่: บริหาร ธุรกิจ , การเงิน การลงทุน

0 รีวิว เขียนรีวิว

221.00 บาท

260.00 บาท ประหยัด 39.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 แต้ม

จริยเศรษฐศาสตร์ ผลงานคลาสสิกของ อมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตร์และนักปรัชญาชาวอินเดีย เจ้าของรางวัลโนเบลปี 1998 < แสดงน้อยลง จริยเศรษฐศาสตร์ ผลงานคลาสสิกของ อมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตร์และนักปรัชญาชาวอินเดีย เจ้าของรางวัลโนเบลปี 1998
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Top Up Mid-Month Sale! ลด 15%

221.00 บาท

260.00 บาท
260.00 บาท
ประหยัด 39.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 8 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
184 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 21 x 1.1 CM
น้ำหนัก
0.234 KG
บาร์โค้ด
9786169307686

รายละเอียด : จริยเศรษฐศาสตร์ : On Ethics and Economics

จริยเศรษฐศาสตร์ : On Ethics and Economics

เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่เลือดเย็นและเห็นแก่ตัว…หลายคนรู้สึกแบบนั้น เพราะความเชื่อหลักที่หยั่งรากลึกของเศรษฐศาสตร์ทุกวันนี้มักไม่พ้น “มีเพียงการบรรลุประสิทธิภาพสูงสุดเท่านั้นที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สังคม” หรือ “มีเพียงการยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้งเท่านั้น ที่เป็นพฤติกรรมที่มีเหตุมีผล”

อมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตร์และนักปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ ตั้งคำถามต่อความเชื่อเหล่านั้น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นว่าที่เป็นเช่นนั้นเพราะเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันเน้นแต่มิติทางวิศวกรรมศาสตร์ แต่ไม่มีพื้นที่ให้กับจริยศาสตร์ ทั้งที่ครั้งหนึ่งก็เป็นต้นกำเนิดของเศรษฐศาสตร์เช่นกัน เซนมิได้ปฏิเสธการเน้นกลไกเชิงวิศวกรรมศาสตร์ของเศรษฐศาสตร์ แต่เขาเชื่อว่าหากเราพาจริยศาสตร์กลับมารวมไว้ในเศรษฐศาสตร์ได้ ก็จะทำให้เศรษฐศาสตร์สามารถอธิบายและพยากรณ์พฤติกรรมที่แท้จริงของมนุษย์ได้อย่างแม่นยำมากขึ้น และดังนั้นจึงจะทำให้เศรษฐศาสตร์เป็นประโยชน์มากขึ้นต่อสังคม


สารบัญ : จริยเศรษฐศาสตร์ : On Ethics and Economics

    • 1 พฤติกรรมทางเศรษฐศาสตร์กับสำนึกทางศีลธรรม
    • 2 การตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์กับปรัชญาศีลธรรม
    • 3 เสรีภาพกับผลพวง

เนื้อหาปกหลัง : จริยเศรษฐศาสตร์ : On Ethics and Economics

จริยศาสตร์ไม่มีที่ทางในเศรษฐศาสตร์จริงหรือ การกระทำที่ยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง 'มีเหตุมีผล' เพราะอะไร การมุ่งเน้นประสิทธิภาพสูงสุด พัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนหรือไม่ และเราเข้าใจคำว่า 'ประสิทธิภาพ' ตรงกันไหม พบกับการวิเคราะห์ เจาะลึกด้วยวิถีทางปรัชญาใน 'จริยเศรษฐศาสตร์'

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading