การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์

ผู้เขียน: อนุสรณ์ ลิ่มมณี

สำนักพิมพ์: สยามปริทัศน์/SIAMPARITUT

หมวดหมู่: หนังสือบทความ สารคดี , หนังสือสารคดี

0 รีวิว เขียนรีวิว

136.00 บาท

160.00 บาท ประหยัด 24.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 แต้ม

ปรัชญาและความรู้ทางสังคมศาสตร์เป็นพรมแดนแห่งความรู้ที่ทั้งมีขอบเขตอันกว้างขวาง และความลึกอันเฉพาะเจาะจงลงไปในแต่ละสาขาย่อยของสังคมศาสตร์ < แสดงน้อยลง ปรัชญาและความรู้ทางสังคมศาสตร์เป็นพรมแดนแห่งความรู้ที่ทั้งมีขอบเขตอันกว้างขวาง และความลึกอันเฉพาะเจาะจงลงไปในแต่ละสาขาย่อยของสังคมศาสตร์
  • ส่วนลด:
    ลด 15%
  • โปรโมชั่น:Naiin.com Top Up Mid-Month Sale! ลด 15%

136.00 บาท

160.00 บาท
160.00 บาท
ประหยัด 24.00 บาท (15.00 %)

จำนวนคะแนนที่ได้รับ 5 แต้ม

จำนวน :

1

จำนวนหน้า
160 หน้า
ประเภทสินค้า
ขนาด
14.3 x 20.8 x 1 CM
น้ำหนัก
0.204 KG
บาร์โค้ด
9789743159879

รายละเอียด : การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์

การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์

ปรัชญาและความรู้ทางสังคมศาสตร์เป็นพรมแดนแห่งความรู้ที่ทั้งมีขอบเขตอันกว้างขวาง และความลึกอันเฉพาะเจาะจงลงไปในแต่ละสาขาย่อยของสังคมศาสตร์ รวมถึงเป็นพื้นฐานสําคัญหรือจุดเริ่มของนักสังคมศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ การต่อยอด การถกเถียง และการวิพากษ์ การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์ ผลงานของ ศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ลิ่มมณี เป็นหนังสือที่กล่าวถึงรากฐานและข้อถกเถียงทางปรัชญาสังคมศาสตร์ในการอธิบายทางการเมือง รวมถึงเปิดเผยให้เห็นการวิเคราะห์ทางการเมืองหรือการวิเคราะห์ทางรัฐศาสตร์อันมากไปกว่าการทําความเข้าใจเชิงปรากฏการณ์ทางการเมือง

สำนักพิมพ์ศยาม


สารบัญ : การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์

    • 1. บทนำ
    • 2. วิธีการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง
    • 3. รูปแบบการอธิบายกับแนวการวิเคราะห์ทางการเมือง
    • 4. ระดับของการอธิบายในการวิเคราะห์ทางการเมือง
    • 5. ปัญหาและทางออกในการอธิบาย

เนื้อหาปกหลัง : การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์

"การเข้าไปเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในด้านการวิเคราะห์ทางการเมือง ขอบเขตและแนวการศึกษาทางรัฐศาสตร์และปรัชญาสังคมศาสตร์ในระดับหลังปริญญาตรี ทำให้ผู้เขียนต้องหันกลับไปทบทวนสิ่งที่เคยเรียนรู้มาและหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหาการอธิบายในทางสังคมศาสตร์ และผลกระทบต่อการศึกษาวิเคราะห์ทางการเมือง งานเขียนชิ้นนี้จึงไม่เป็นเพียงผลจากการเข้าไปเกี่ยวข้องกับงานสอนดังกล่าวเท่านั้น แต่ยังเป็นการทดลองนำเสนอในสิ่งที่ตนเองได้รับมาจากการพยายามจัดระเบียบความคิดในด้านนั้น" (คำนำในการพิมพ์ครั้งที่หนึ่ง)

รีวิว


0.0
  • 5
    0%
  • 4
    0%
  • 3
    0%
  • 2
    0%
  • 1
    0%
loading